นาฏยลักษณ์จากภาพจำหลักรูปบุคคลของปราสาทศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์

Main Article Content

ยุวดี พลศิริ

บทคัดย่อ

         บทความนี้มาจากวิจัยเรื่อง "ปราสาทศีขรภูมิ : การถอดรหัสภาพนาฏยลักษณ์จากภาพจำหลักรูปบุคคลสู่การสร้างสรรค์ศิลปะการแสดง"มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษากระบวนการถอดรหัสภาพจำหลักรูปบุคคลของปราสาทศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ 2) เพื่อศึกษานาฏยลักษณ์ในภาพจำหลักรูปบุคคลของปราสาทศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ เป็นการวิจัยและพัฒนา เก็บข้อมูลด้วยวิธี การสัมภาษณ์ การสังเกต สนทนากลุ่ม นำเสนอข้อมูลเชิงพรรณนาวิเคราะห์ ขอบเขตการศึกษาภาพจำหลักรูปบุคคลในตำแหน่งทับหลัง เสาติดผนัง เสาประดับกรอบประตูและยอดปราสาท ผลการวิจัยพบว่า ภาพจำหลักรูปบุคคลมีทั้งสิ้น 11 ชิ้น แบ่งเป็นกลุ่ม 3 กลุ่ม เปรียบเทียบตามโครงสร้าง การฟ้อนรำที่เรียกว่า อังคะ(อวัยวะหลัก) ทั้ง 3 ตำแหน่ง ดังนี้ ส่วนที่ 1 สถานตะ (ศรีษะ) ส่วนที่ 2 นฤยหัสกะ (มือและแขน) ส่วนที่ 3 จารี (ขาและเท้า) ถอดรหัสภาพด้วยการวาดลายเส้นและใช้นักแสดงจำลองท่ารำ พบว่านาฏยลักษณ์จากภาพจำหลักรูปบุคคลเป็นท่าที่เกิดจากรากของท่าเดิมพัฒนาเป็น “แม่ท่ามี 24 ที่ยังคงนาฏยลักษณ์และความหมายไว้อย่างชัดเจน

Article Details

How to Cite
พลศิริ ย. (2025). นาฏยลักษณ์จากภาพจำหลักรูปบุคคลของปราสาทศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์. มนุษยสังคมสาร (มสส.) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, 23(1), 1–23. https://doi.org/10.14456/jhusoc.2025.1
บท
บทความวิจัย

References

Attapak, C. (2012). Elements of art. Bangkok: Witthayapat. [in Thai]

Benjakarn, P. (1997). A study of the forms and beliefs of the Thephanom sculptures at Phimai stone sanctuary. Master’s Thesis. Mahasarakham University. [in Thai]

Kitkhun, C. (2004). Dance characteristics of royal characters. Bangkok: Chulalongkorn University. [in Thai]

Kingmanee, A. (2008). Trimurti: The supreme deities of hinduism. Bangkok: Dansunthakaan Printing. [in Thai]

Kasprayoon, P. (2019). Body Movements in Dance Performances. HUSO Journal of Humanities and Social Sciences, 3(1), 40–41. [in Thai]

Makpha, P. (2007). A synthesis of research on Thai dance. Srinakharinwirot University. [in Thai]

Montreesart, J. (2009). Natasilpa Suksa. Tech Promotion & Advertising Co., Ltd. [in Thai]

Natayakul, S. (2014). Western dance perspectives. Khon Kaen: Klangnanawitthaya Printing House. [in Thai]

Nimsamer, C. (2014). The elements of art (9th ed.). Bangkok: Thai Watthanapanich. [in Thai]

Punnavanichsiri, P. (2013). Patterns of Apsara skirts at Angkor Wat temple: Origins and forms. Master of Arts, Silpakorn University. [in Thai]

Srirachlao, M. (2013). Forms of conservation and worship in ancient sites of Southern Isan. Ph.D. Thesis, Faculty of Cultural Studies, Mahasarakham University. [in Thai]

Ponsiri, Y. (2020). Dance creations inspired by the bas-reliefs of human figures at Vat Phou Temple, Champasak, Lao PDR. Faculty of Fine and Applied Arts, Khon Kaen University. [in Thai]

Treetheppatima, S. (2012). An analysis of contemporary Thai drawings in the early 21st century (2000–2012). Department of Art Theory, Silpakorn University. [in Thai]

Wirunrak, S. (2006). An overview of dance. Bangkok: Chulalongkorn University. [in Thai]