สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาตามแนววิถีใหม่เพื่อยกระดับนวัตกรรมทางการศึกษาของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร
คำสำคัญ:
สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษา, การบริหารสถานศึกษาแนววิถีใหม่, นวัตกรรมทางการศึกษา, ครูบทคัดย่อ
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาตามแนววิถีใหม่ และ 2) ศึกษาแนวทางยกระดับนวัตกรรมทางการศึกษาของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหารสถานศึกษาและข้าราชการครู จำนวน 321 คน โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิตามขนาดโรงเรียน เครื่องมือวิจัย คือ แบบสอบถามเพื่อการวิจัยและแบบสัมภาษณ์เพื่อการวิจัย วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ตามลำดับ
ผลวิจัยพบว่า 1) ผลของการศึกษาสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาตามแนววิถีใหม่ โดยพิจารณา ออกเป็น 2 ด้าน ดังนี้ ด้านที่ 1 คือ ด้านการบริหารการศึกษาตามแนววิถีใหม่ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ด้านที่ 2 โดยมี 2 องค์ประกอบย่อย ดังนี้ องค์ประกอบแรก ด้านสมรรถนะในการบริหารจัดการเรียนรู้ของครู โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก องค์ประกอบที่สองด้านส่งเสริมสมรรถนะเพื่อยกระดับนวัตกรรมของครู โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ตามลำดับ 2) แนวทางยกระดับนวัตกรรมทางการศึกษาของครู พบว่า มีแนวทางยกระดับนวัตกรรมทางการศึกษาของครูที่ได้ 5 ด้าน คือ 1) การกำหนดเป้าหมายเพื่อการยกระดับนวัตกรรม 2) ความคิดริเริ่มเพื่อการยกระดับนวัตกรรม 3) การสร้างแรงบันดาลใจและการเสริมแรงเพื่อการยกระดับนวัตกรรม 4) การพัฒนากลยุทธ์เพื่อการยกระดับนวัตกรรม และ 5) การวัดและประเมินผลเพื่อการยกระดับนวัตกรรม ตามลำดับ
References
กาญจนา รูปสูง และศันสนีย์ จะสุวรรณ์.(2566). สมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษาในความปกติใหม่สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระยองเขต 1. วารสารศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 16(1), 16-24.
จิราภรณ์ จันทา, ธิดารัตน์จันทะหนิ และจิณณวัตร ปะโคทัง. (2564). กลยุทธ์การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. Journal of MCU Peace Studies, 9(5), 1964-1980.
จักรี ศรีจารุเมธีญาณและ สุรศักดิ์ อุดเมืองเพียง. (2563). แรงจูงใจในการทำงาน : ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้.วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์, 5(1), 424-436.
ชรอยวรรณ ประเสริฐผล. (2556). รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ของครูใหม่โรงเรียนเอกชน ประเภทสามัญศึกษา. วารสารศึกษาศาสตร์, 3(ฉบับพิเศษ), 50.
ณัฐธีรา มีจันทร์. (2562). สมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษาในโครงการโรงเรียนร่วมพัฒนา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. หลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตร มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. ปทุมธานี.
ณัฐปภัสร์ สกุลพัฒน์รดา และ จันทรัศม์ ภูติอริยวัฒน์. (2565).การเป็นองค์กรนวัตกรรมทางการศึกษาของโรงเรียนมัธยมศึกษา ที่ได้รับรางวัลคุณภาพแห่งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.วารสารศิลปการจัดการ, 6(4), 1844-1861.
ธวัชชัย แสนดวง. (2565). สมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการบริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 18 จังหวัดชลบุรี. ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี. จันทบุรี.
ธีรุตม์ณัชช์ ชัยภัทรโธวััต, นภาเดช บุุญเชิดชูู และจิตติรัตน์ แสงเลิศอุทัย. (2565). สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึึกษาที่่ส่่งผลต่่อการบริิหารงานวิิชาการของโรงเรีียนสัังกััดสำนักงานเขตพื้นการศึึกษามััธยมศึึกษาในจัังหวััดนครปฐม. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึงสาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 10(2), 127-141.
นาวิน พินิจอภิรักษ์ และ ไตรรัตน์ สิทธิทูล. (2564). สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ฯ, 8(2), 328-342.
นวลจันทร์ ตั้งประภัสสร, สิรินธร สินจินดาวงศ์ เเละสุภัทร พันธ์พัฒนกุล. (2561). แนวปฏิบัติที่ดีในการบริหารจัดการคุณภาพงานวิชาการของโรงเรียนเอกชนในกรุงเทพมหานคร. Veridian E- Journal, Silpakorn University, 11(1), 540-560.
พระมหาประยูร ธีรวโร (ตระการ). (2565). วิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศ. วารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์, 3(1), 33-40.
พระสมุห์นริศ นรินโท. (2562). การพัฒนาครูเพื่อคุณภาพของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21. Journal of Graduate MCU KhonKaen Campus, 6(3), 469-470.
พิชามญชุ์ ลาวชัย (2562). สมรรถนะของผู้บริหารกับการบริหารงานบุคคลในสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสมุทรสงคราม. หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร. นครปฐม.
พัชนียา ราชวงษ์และ อำนวย ทองโปร่ง. (2565). สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคปกติใหม่ (New Normal) ตามการรับรู้ ของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระบุรี เขต 1. Journal of Roi Kaensarn Academi, 7(6), 47-65.
พรเพ็ญ สมบัติมาก, สุภาภรณ์ มาอุ้ย และอัจฉราภรณ์ ตันกันยา. (2564). การพัฒนาความรู้เกี่ยวกับการสอนของครูผู้สอนวิทยาศาสตร์ในชุมชนแห่งการเรียนรู้วิชาชีพ. วารสารชุมชนแห่งการ เรียนรู้วิชาชีพครู, 1(1), 31.
รัชพล ครองยุต. (2564). การพัฒนารูปแบบการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เพื่อ พัฒนาความสามารถในการสร้างความรู้ ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้. วารสารการบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น, 8(11), 224-238.
ศักดิ์คเรศ ประกอบผล. (2565). การประเมินนวัตกรรมการศึกษาในยุคการศึกษา 4.0. วารสารครศาสตร์สาร, 5(1), 295-311.
วิการดา จิรพุทธกร. (2565). สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษากับคุณภาพชีวิตการทำงานของครูสังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มกรุงธนเหนือ. หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร. นครปฐม.
วรกุล เชวงกูล. (2560). การสอนภาษาไทยในระดับประถมศึกษา. นครราชสีมา: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.
สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2562). การติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาเรียนรวม สําหรับเด็กพิการและเด็กที่มีความต้องการจําเป็นพิเศษ. กรุงเทพมหานคร: 21. เซ็นจูรี่ จํากัด.
อรพิณ ศิริสัมพันธ์, ภัทรพล มหาขันธ์, กนกพร ฉันทนารุ่งภักดิ์ และนภาเดช บุญเชิดชู. (2562).
การวิจัยและพัฒนารูปแบบนวัตกรรมที่สร้างสรรค์การเรียนรู้ เพื่อพัฒนาวิชาชีพของครูในภูมิภาคตะวันตก. ครุศาสตร์สาร, 15(2), 159-173.
Yaowanat, N. (2020). Guidelines for development of innovative leadership of school administrators under Kamphaeng Phet primary educational service Area Office 2. Master,s Thesis. Sukhothai Thammathirat Open University. (in Thai).
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
วารสาร TCI อยู่ภายใต้การอนุญาต Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) เว้นแต่จะรุบุไว้เป็นอย่างอื่นโปรดอ่านหน้านโยบายของเราสำหรับข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเช้าถึงแบบเปิด ลิขสิทธิ์ และการอนุญาต