บทบาทของคนธรรมดาสามัญในการส่งเสริมความสัมพันธ์ไทย-เยอรมัน
คำสำคัญ:
การทูตชั้นสูง, พุทธศาสนา, คนธรรมดาสามัญ, ทวิวัจน์, โรแมนติกเยอรมันบทคัดย่อ
ในวาระของการครบรอบ 160 ปีแห่งการสถาปนาความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับเยอรมนี ผู้เขียนขอเสนอให้เลี่ยงการเน้นบทบาทของการทูตระดับสูงดังที่กระทำกันอยู่ และให้ความสำคัญกับบทบาทของคนธรรมดาสามัญในการสนับสนุนและสร้างความมั่งคั่งให้แก่สัมพันธภาพนี้ ด้วยวิธีการที่เรียกว่า “ทวิวัจน์ในจินตนาการ” ซึ่งอาจจะมิได้เกิดขึ้นจริงแต่เป็นการสร้างความเชื่อมโยงโดยบุคคลที่สาม ผู้เขียนวิเคราะห์ตัวอย่างที่เป็นรูปธรรมเพื่อแสดงให้เห็นว่า คนธรรมดาสามัญและนักวิชาการสามารถที่จะสร้างการแลกเปลี่ยนอันก่อให้เกิดมรรคผลได้ ซึ่งครอบคลุมประสบการณ์และกิจกรรมในวงที่กว้างมาก อันรวมถึงส่วนที่เกี่ยวกับพุทธศาสนา, ปรัชญา, จริยธรรม, สุนทรียศาสตร์, ศิลปะแขนงต่างๆ, ภาษา, การศึกษา, และที่ไม่อาจมองข้ามได้ คือ เรื่องของอาหาร เวลาและถิ่นที่ที่ห่างจากกันไม่เป็นอุปสรรคอันใดต่อกระบวนการที่เปี่ยมด้วยพลวัตของทวิวัจน์ ทั้งนี้เพราะกระแสความคิดสามารถเดินทางได้ไกลมาก ดังจะเห็นได้จากตัวอย่างที่น่าทึ่ง นั่นคือ กระแสความคิดที่มาจากกลุ่มกวีและนักคิดโรแมนติกของเยอรมัน ผู้เขียนให้ข้อสรุปจากรากฐานของประสบการณ์ส่วนตนในฐานะผู้เชื่อมประสานระหว่างวัฒนธรรมทั้งสอง โดยชี้ให้เห็นว่า จุดสุดยอดของประสบการณ์ดังกล่าว คือการที่เขารับมรดกเยอรมันที่ว่าด้วยความสำนึกเชิงลึกในทางวิชาการ แล้วนำความสำนึกนั้นไปปรับให้เป็นความถูกต้องทางจริยธรรมในบริบทของบ้านเกิดเมืองพุทธของเขาเอง
References
An Imaginary Dialogue: A Comparative Look at Contemporary Thai and Western Poetry (collected in the volume of essays, Fervently Mediating: Criticism from a Thai Perspective) Chomanad.
Chetana Nagavajara. (2022). The New Beginnings of Comparative Literature in Germany 1945-1975. Humanities, Arts and Social Sciences Studies, pp.496-497. from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/hasss
Chetana Nagavajara. (2020). Native Roots and Distant Climes. Silpakorn University.
Chetana Nagavajara. (2015). From the Standpoint of the Humanities. Chomnad.
Chetana Nagavajara. (2014). Auf der Suche nach einer grenzüberschreitenden Wissenschaftskultur. Silpakorn University. (pp.51-52)
Chetana Nagavajara. (2014). Auf der Suche nach einer grenzüberschreitenden issenschaftskultur. Silpakorn University. (pp.147-166)
Chetana Nagavajara, (2014). Auf der Suche nach einer grenzüberschreitenden Wissenschaftskultur. Silpakorn University. (pp.167-203)
Chetana Nagavajara, (2014). Auf der Suche nach einer grenzüberschreitenden Wissenschaftskultur. Silpakorn University. (pp.427-428)
Chetana Nagavajara. (2014). Bridging Cultural Divides: Collected Essays and Reviews 2006-2014. Silpakorn University.
Darras, Jacques. (2002). Nous sommes tous des romantiques allemands. Calman-Lévy.
Korakoch Attaviriyanupap. (2029). The German Tradition of Awarding Honorary Doctorates: A Case-Study from Tübingen University. Journal of the Faculty of Arts Silpakorn University, 11(1), 32.
Lichte, Erika Fischer. (2022). Improvising His Way Through Life. (Sodchuen Chaiprasathna, Sawitree Tongurai, Aurapin Khamson, Kannika Thanompunyarak and Lake, Morgan, eds.). Combang Press. (p.241)
Schalbruch, Martin. (2022). (Sodchuen Chaiprasathna, Sawitree Tongurai, Aurapin Khamson, Kannika Thanompunyarak and Lake, Morgan, eds.). Combang Press. (p.264))
Schille, Friedrich. (2004). On the Aesthetic Education of Man. (Snell, Reginald, tr.). Dover publications. from http://armytage.net/pdsdata/Friedrich%20Schiller
Schlegel, Friedrich. (n.d.). Athenäums-Fragment. https://Lernhelfer.de (My translation)
Wais, Kurt. (n.d.). Mentioned briefly above in Note 6, deserves a discussion in the larger context of what foreign scholars can contribute to the study and research of an indigenous culture. n.p.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
This article has been published in the Journal of Humanities and Social Sciences at Prince of Songkla University, Pattani Campus.