การสร้างผู้ประกอบการรุ่นใหม่ในยุคไทยแลนด์ 4.0
คำสำคัญ:
ผู้ประกอบการรุ่นใหม่, วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม, ไทยแลนด์ 4.0บทคัดย่อ
เมื่อพิจารณาถึงโลกของธุรกิจที่เต็มไปด้วยการแข่งขันที่สูงในปัจจุบัน อุตสาหกรรมของประเทศไทย ซึ่งมักอยู่ในรูปแบบการผลิตสินค้าแบบเน้นปริมาณ (Mass production) ไม่สามารถขับเคลื่อนพัฒนาต่อยอด หรือทัดเทียมกับนานาประเทศที่พัฒนาแล้วได้ กล่าวคือ อุตสาหกรรมของประเทศไทยไม่ได้เป็นทั้ง อุตสาหกรรมการผลิตสินค้าต้นทุนต่ำหรืออยู่ในกรอบเชิงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์เท่าที่ควร ดังนั้นเพื่อการเสริมสร้างอุตสาหกรรมและเศรษฐกิจในประเทศให้แข็งแกร่งขึ้น แนวคิดผู้ประกอบการรุ่นใหม่ในยุคไทยแลนด์ 4.0 จึงถูกสร้างขึ้นมา โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (Small and Medium-sized Enterprises: SMEs) ที่เป็นเสาหลักค้ำจุนเศรษฐกิจภายในประเทศ ผู้ประกอบการในภาคส่วนนี้จำเป็นต้องได้รับการเรียนรู้ เสริมสร้างทักษะการจัดการบริหาร การวางแผนหรือ การออกแบบผลิตภัณฑ์อย่างสร้างสรรค์ โดยมีภาครัฐทำหน้าที่เป็นตัวกลางประสานความช่วยเหลือ สนับสนุน ผู้ประกอบการในด้านการจัดหาเงินทุน การยืดหยุ่นกฎหมายหรือเอื้อเฟื้อสิทธิประโยชน์ด้านธุรกิจ การหาช่องทางทางการตลาด การจัดหาผู้เชี่ยวชาญหรือที่ปรึกษาในด้านต่างๆพร้อมทั้งเชื่อมโยงผู้ประกอบการเข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายผู้ประกอบการรุ่นใหม่ซึ่งแบบจำลองขั้นตอนการสร้างผู้ประกอบการรุ่นใหม่ในยุคไทยแลนด์ 4.0 มีดังต่อไปนี้ 1) ผู้ประกอบการรุ่นใหม่เข้าถึงแหล่งเงินทุนได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ 2) ผู้ประกอบการรุ่นใหม่ได้รับการส่งเสริมความรู้ด้านการตั้งต้นและการทำแผนธุรกิจ 3) ผู้ประกอบการรุ่นใหม่ได้รับการส่งเสริมด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การสร้างตราสินค้าและการทำการตลาดอย่างสร้างสรรค์ 4) ผู้ประกอบการรุ่นใหม่ได้รับการส่งเสริมด้านช่องทางการตลาดในประเทศ และ 5) ผู้ประกอบการรุ่นใหม่ได้รับการผลักดันในการส่งผลิตภัณฑ์สู่ตลาดต่างประเทศ
References
กองบริหารงานวิจัยและประกันคุณภาพการศึกษา. (2559). Thailand 4.0 โมเดลขับเคลื่อนประเทศไทยสู่ความมั่งคั่ง มั่นคงและยั่งยืน. กรุงเทพฯ: สำนักกองบริหารงานวิจัยและประกันคุณภาพการศึกษา.
คณะการสร้างเจ้าของธุรกิจและการบริหารกิจการ มหาวิทยาลัยกรุงทพและส่านักงานส่งเสริม วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. (2558). จัดทำโครงการการศึกษาเชิงเปรียบเทียบเพื่อการพัฒนา GEM: Global Entrepreneurship Monitor. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยกรุงเทพและสำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม.
จันทวรรณ สุจริตกุล (2558, มกราคม-เมษายน). แหล่งทุน SMEs เพื่อยกระดับการแข่งขันไทย. รัฏฐาภิรักษ์, 57(1), 35-52.
จิตรลดา พิศาลสุพงศ์ และคณะ(2557). ภาพรวมการพัฒนาด้านการวิจัยและพัฒนาของประเทศไทย. วารสารเศรษฐกิจและสังคมของสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 51(1), 27-32.
จิรัฐ เจนพึ่งพร. (2561). ก้าวจาก SMEs สตาร์ทอัพ 3.0 สู่เทคสตาร์ทอัพ 4.0. สืบค้นจาก https://www.bot.or.th/Thai/MonetaryPolicy/EconomicConditions/AAA/8SMEStratup2 3May2017.pdf
ชญาภัทร์ กี่อาริโย, ธีรวุฒิ บณุยโสภณ, ทวีศักดิ์ รูปสิงห์ และคณะ (2559). รูปแบบการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชนในกลุ่มจังหวัดภาคกลาง. วารสารวิชาการพระจอมเกล้า พระนครเหนือ, 26(1), 141-152.
นงลักษณ์ โพธิ์ไพจิตร. (2558). เทคโนโลยสารสนเทศกับการจัดการความรู้ .วารสารวิชาการ การตลาดและการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, 2(2), 1-11.
นนทวัชร์ อนันท์พรจินดา. (2555). ยุทธศาสตร์การพัฒนาผู้ประกอบการที่มีศักยภาพจากฐานการดำเนินงานโครงการเสริมสร้างผู้ประกอบการใหม่ (NEC). วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยปทุมธานี, 4(1), 181-192.
ปรัชญา อัศวเดชกำจร และ รุ่งรัตน์ ตัถยาธิคม. (2555). SMEs ตอบโจทย์เศรษฐกิจไทย. กรุงเทพฯ: สายกำกับสถาบันการเงิน.
ฝ่ายนโยบายและแผนส่งเสริม SMEs. (2559). แผนการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2560 - 2564). กรุงเทพฯ:สำนักงานฝ่ายนโยบายและแผนส่งเสริม SMEs.
วิสาหกิจขนาดกลางเเละขนาดย่อม. (2557). แนวทางการส่งเสริมกลุ่มธุรกิจ SMEs ที่มีการเติบโต สูงของประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงานวิสาหกิจขนาดกลางเเละขนาดย่อม.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560).ขับเคลื่อนแผนฯ 12 สู่ อนาคตประเทศไทย. กรุงเทพฯ: ส่านักงาน.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). เอกสารประกอบการประชุมประจำปี เรื่องขับเคลื่อนแผนฯ 12 สู่อนาคตประเทศไทย. กรุงเทพฯ : สำนักงาน.
สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. (2554). แผนการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ฉบับที่3 (พ.ศ. 2555-2559). กรุงเทพฯ : สำนักงาน.
สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. (2556). สรุปหัวใจหลักการส่งเสริม SMEs ไทยก้าวสู่สากล. กรุงเทพฯ: สำนักงาน.
สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. (2558). การใช้คู่มือท าโครงการแผนปฏิบัติการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ประจำปี 2558. กรุงเทพฯ: สำนักงาน.
สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. (2559). แผนการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2560 - 2564). กรุงเทพฯ: สำนักงาน.
สำนักนายกรัฐมนตรี. (2560). ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่องแผนปฏิบัติการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม พ.ศ. 2560 – 2561. สืบค้นจาก http://www.sme.go.th/upload/ mod_download/%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%81%E0%B8%B4% E0%B8%88%E0%B8%88%E0%B8%B2_%E0%B9%81%E0%B8%9C%E0%B8%99%E0% B8%9B%E0%B8%8F%E0%B8%B4%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B 4%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A360_61-20171025174423.PDF
สามารถ สุวรรละโพลง, ชัชชยั สุจริต และ ศิริกาญจน์ ธรรมยัติวงศ์. (2558) รูปแบบการบริหารจัดการผู้ประกอบการของหน่วยบ่มเพาะวิสาหกิจเครือข่ายภาคเหนือตอนล่าง. (ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏอตรดิตถ์).
สุชาติ ไตรภพสกุล และ สหัทยา ชูชาติพงษ์. (2557, กรกฎาคม-ธันวาคม). แบบจำลองการพัฒนาสังคมความเป็นผู้ประกอบการและนวัตกรรมในประเทศไทย. วารสารนักบริหาร, 34(2), 26-36.
สุธีรา อะทะวงษา และ สมบูรณ์วัลย์ สัตยารักษ์วิทย์. (2557, มกราคม - มีนาคม). คุณลักษณะของการเป็นผู้ประกอบการและลักษณะของสถานประกอบการที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย่อมของประเทศไทย. วารสารสุทธิปริทัศน์, 28(85), 61-79.
เสาวณี จันทะพงษ์ และ ขวัญรวี ยงต้นสกุล. (2560). นวัตกรรม: ทางออกจากกับดักรายได้ปาน กลาง. กรุงเทพฯ: สายนโยบายการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย.
Kouriloff, M. (2000). Exploring perceptions of a priori barriers to entrepreneurship: a multidisciplinary approach. Entrepreneurship Theory and Practice, 25(2), 59- 79.
Levie, J., & Autio, E. (2008). A theoretical grounding and test of the GEM model. Small Business Economics, 31(3), 235-263.
Maier, R. (2007). Knowledge Management System Information and Communication Technologies for knowledge Management (3rd ed.). Berlin Heidelberg: Springer.
Thai SMEs Center (2560). อาวุธเสริมแกร่ง SMEs ยุค 4.0. สืบค้นจาก http://www.thaismescenter.com/4E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%B 8%E0%B8%98%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%A1%E 0%B9%81%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B9%88%E0%B8%87-smes-%E0%B8%A2% E0%B8%B8%E0%B8%84-4-0/
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของผู้นิพนธ์
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว