THE INVESTIGATION AND CAUSES ANALYSIS OF DANGER OR ILLNESS DUE TO WORK IN PRODUCTION OF OPERATIONAL STAFF CASE STUDY PLASTIC INDUSTRY FACTORY IN BANGKOK
Keywords:
Danger, Illness, Production of Operation Staff, Plastic IndustryAbstract
The objective of this research is to define the importance of investigating and analyzing causes that affect the hazards or illnesses of production staff at the operational level due to operations in the plastic industry. Besides, create guidelines for the development of safety management systems in the plastics industry focusing on the production staff at the operational level. This research applied a quantitative research method, collected 437 plastic factories in Bangkok using questionnaires as a tool. Statistics used in the research were descriptive and multiple linear regression analysis to test the hypothesis. The results showed that the cause of the incident on each side positively effects on accidents in the plastics industry, (bW1 = 0.442) at the statistical significance level of 0.01. The working area positively effects on accidents in the plastics industry, (bW4 = 0.417) at the statistical significance level of 0.01 The both variables can explain 64.20 percent of the variation.
References
กรมการจัดหางาน. (2560). สถานการณ์ตลาดแรงงาน เดือนกุมภาพันธ์ 2560. วารสารสถานการณ์ตลาดแรงงาน, 25(2), 2-3.
กระทรวงอุตสาหกรรม. (2561). ภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรม เดือนมกราคม 2561และแนวโน้มไตรมาสที่ 1 ปี 2561. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม.
กองส่งเสริมเทคโนโลยีความปลอดภัยโรงงาน. (2560). สรุปสถิติการเกิดอุบัติเหตุในโรงงานประจำปี พ.ศ. 2560. กรุงเทพมหานคร: กรมโรงงานอุตสาหกรรม.
ธรรมรักษ์ ศรีมารุต และพัชรี แซ่จู. (2555). พฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงานของพนักงาน ระดับปฏิบัติการฝ่ายผลิต. คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
ปรัชญา ไชยอิ่นคำ. (2556). ปัจจัยต่อการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล. (ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี).
มนัส ไพฑูรย์เจริญลาภ. (2556). เอกสารประกอบการสอนวิชาสถิติและระเบียบวิธีการวิจัย. กรุงเทพมหานคร: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
วิทิต กมลรัตน์. (2552). ศึกษาพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงานของพนักงานฝายปฏิบัติการ บริษัทอดิตยา เบอร์ล่า เคมีคัลส์ (ประเทศไทย) จํากัด (ฟอสเฟต ดีวิชั่น). (ปริญญามหาบัณฑิต, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์).
ศูนย์พิษวิทยารามาธิบดี. (2556). อันตรายจากอุตสาหกรรมพลาสติก. สืบค้นจาก https://med.mahidol.ac.th/poisoncenter/th/bulletin/bul99/v7n1/Monomer
สำนักงานความปลอดภัยแรงงาน. (2556). คู่มือโครงการพัฒนาศักยภาพในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน. กรุงเทพมหานคร: กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน.
สำนักงานความปลอดภัยแรงงาน. (2561). เครื่องมือ: พัฒนาระบบความปลอดภัยในโรงงาน. สืบค้นจาก https://www.oshthai.org/index.php?option=com_k2&view=item&id=213:5w-1h-%หลักพื้นฐานของการสอบสวนอุบัติเหตุ&Itemid=222
สำนักงานประกันสังคม. (2561). สถานการณ์การประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทำงาน ปี 2556 – 2560. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงแรงงาน.
Bird, F. E. & Germain, G. L. (1986). Practical loss control leadership. Georgia,USA: International Loss Control Institute.
Heinrich, H. W. (1959). Industrial prevention. New York: McGraw-Hill.
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของผู้นิพนธ์
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว