การพัฒนาเครือข่ายชุมชนในการป้องกันความเสี่ยงจากผลิตภัณฑ์สุขภาพด้วยพลัง บวร.ร ตำบลบ้านด่านนาขาม 152 อำเภอเมือง จังหวัดอุุตรดิตถ์์ การพัฒนาเครือข่ายชุมชนในการป้องกันความเสี่ยงจากผลิตภัณฑ์สุขภาพด้วยพลัง บวร.ร ตำบลบ้านด่านนาขาม อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์
Main Article Content
Abstract
This research aimed to develop a community network to prevent risks from health products with the power of CTS.H, Ban Dan Na Kham Sub-district, Uttaradit Province by participatory action research. The sample group consisted of 335 people in Ban Dan Na Kham Sub-district. The data were collected using questionnaires as well as focus group discussions and activities. The statistics used in the data analysis included frequency distribution, percentage, mean, and standard deviation. The research results revealed that 100% of the sample group had previously purchased or had health products in their homes, that 54.60% were not interested in purchasing health products with signs or symbols certified by the FDA, that 54.60% were not interested in the expiration date or best-before date of the health product before making a decision to purchase, and that 51.60% sometimes looked at the product labels. Activities to prevent risks from health products were organized for the total of 12 weeks, and the overall evaluation result for this research was at the highest level.
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค. (2564). คู่มือการดำเนินงานเครือข่ายชุมชนร่วมใจป้องกันภัยผลิตภัณฑ์สุขภาพ (บวร.ร). มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา :
ศูนย์สื่อและสิ่งพิมพ์แก้วเจ้าจอม.
เทศบาลตำบลบ้านด่านนาขาม. (2565). รายงานผลการดำเนินการประจำปี 2565. สำนักงานปลัดเทศบาล.
บุญชม ศรีสะอาด. (2560). การวิจัยเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.
รัชกรณ์ นภาพรพิพัฒน์ และคณะ. (2564). มุมมอง “บวร” เพื่อความมั่นคง . สถาบันความมั่นคงศึกษาสำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ.
ศุภกาญจน์ โภคัยและคณะ. (2560). โครงการวิจัยปัจจัยที่มีผลต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพของผู้บริโภคในปัจจุบัน.
สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.
ศศิลักษณ์ ปิยะสุวรรณ์. (2560). การเฝ้าระวังและการบริหารจัดการความเสี่ยงด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
ตำบล จังหวัดน่าน. หลักสูตรปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สำนักนายกรัฐมนตรี.(2566). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 – 2570) . กรุงเทพ :
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
Hauser, M., Nussbeck, F. W. and Jonas, K. (2013). The impact of food-related values on food purchase behavior and the mediating role
of attitudes: A Swiss study. Psychology & Marketing, 30, 765–778, Doi: 10.1002/mar.20644.
Leonard, T., McKillop, C., Carson, J. A. and Shuval, K. (2014). Neighborhood effects on food consumption. Journal of behavioral and
experimental economics, 51, 99-113.
Sumngern, C., Azeredo, Z., Subgranon, R., Matos, E. and Kijjoa, A. (2011). The perception of the benefits of herbal medicine
consumption among the Thai elderly. The journal of nutrition, Health & Aging, 15 (1), 59-63.