แบบจำลองความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลการดำเนินงาน ของผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ในประเทศไทย

Main Article Content

Suchart Prakthayanon
ทิพย์ลาวัลย์ แก้วนิล
เบญชญา พิชิตชัยเดชา

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาอิทธิพลทางตรง อิทธิพลทางอ้อมและอิทธิพลรวมของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลการดำเนินงานของผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ในประเทศไทย 2) เพื่อวิเคราะห์ตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อผลการดำเนินงานของผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ในประเทศไทย 3) เพื่อพัฒนาการพัฒนารูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลการดำเนินงานของผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ ในประเทศไทย การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นจากประชากรจำนวน 1,797 ราย โดยกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามเกณฑ์ของแฮร์ และคณะ กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 380 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง


ผลการวิจัยพบว่า (1) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลการดำเนินงานของผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ ได้แก่ด้านการประยุกต์ใช้การจัดการโซ่อุปทาน ความร่วมมือในโซ่อุปทาน ความพึงพอใจของพนักงานและประสิทธิภาพการดำเนินงาน (2) ด้านการประยุกต์ใช้การจัดการโซ่อุปทานความร่วมมือในโซ่อุปทาน ความพึงพอใจของพนักงาน และประสิทธิภาพการดำเนินงานมีอิทธิพลทางตรง อิทธิพลทางอ้อมและอิทธิพลรวมของผลการดำเนินงานของผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ในประเทศไทย ซึ่งค่าดัชนีวัดระดับความสอดคล้องของโมเดล ผลการวิเคราะห์มีความกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (Model Fit) มีค่าทดสอบคือ Chi-square (χ2) =160.089, df = 88, CMIN/DF (χ2/df = 1.819, p = .052, GFI = 949, CFI = 984, AGFI=921, NFI = .966 , RMR =.035, RMSEA = .046, PCLOSEF= .681 รูปแบบผลการดำเนินงานของผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ซึ่งมีความสัมพันธ์กันเมื่อพิจารณาค่าความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรของการปรับโมเดล

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กัลยา วานิชย์บัญชา. (2556). การวิเคราะห์สมการโครงสร้าง SEM ด้วย AMOS. กรุงเทพฯ: สามลดา.

กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์. (2665). สถิติการจดทะเบียนนิติบุคคลคงอยู่ในประเทศไทย. ค้นเมื่อ พฤษภาคม 25, 2565,

จาก http://datawarehouse.dbd.go.th/dbw/menu/est/1.html.

กระทรวงพาณิชย์. (2564). สถิติการค้าระหว่างประเทศ. ค้นเมื่อ มกราคม 5, 2564, จาก http://www2.ops3.moc.go.th/

ธนพล ชูยุคสกุล. (2565). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการนำธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์มาใช้เพื่อการพัฒนาประสิทธิภาพของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในเขตพัฒนา

เศรษฐกิจพิเศษกาญจนบุรี. วิทยานิพนธ์หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต แผน ก แบบ ก2

ระดับปริญญามหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2555). การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS และ AMOS. พิมพ์ครั้งที่ 13. กรุงเทพฯ: บิสซิเนสอาร์แอนด์ดี.

วสุธิดา นักเกษม, ธีระวัฒน จันทึก และ พิทักษ ศิริวงศ. (2566). ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนากลยุทธ์การขับเคลื่อนผู้สืบทอดตำแหน่ง

ทางธุรกิจในกลุ่มอุตสาหกรรมบริการดิจิทัลของประเทศไทย. วารสารการบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น, 9 (4), 244-263.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ และสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ. (2565). คู่มือการ จัดทำแผนการจัดการความรู้. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการ

พัฒนาระบบราชการ และสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ.

สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน. (2564). คู่มือการขอรับการส่งเสริมทุนประจำปี 2564: อุตสาหกรรมยานยนต์. ค้นเมื่อ พฤษภาคม 25, 2565,

จาก http://www.boi.go.th.

สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ. (2565). เพิ่มประสิทธิภาพลดต้นทุนการผลิตมาตรฐานการผลิตคุณภาพ. ค้นเมื่อ มีนาคม 25, 2565,

จาก https://www.ftpi.or.th/bds.

Bai, C., and Sarkis, J. (2010). Integrating Sustainability into Supplier Selection with Grey System and Rough Set Methodologies.

International Journal of Production Economics, 124 (1), 252-264.

Bai, C. and Sarkis, J. (2010). Green Supplier Development: Analytical Evaluation Using Rough Set Theory. Journal of Cleaner Production,

, 1200-1210. https://doi.org/10.1016/j.jclepro.2010.01.016.

Browne, M. W., and Cudeck, R. (1993). Alternative ways of assessing model fit. In K. A. Bollen and J. S. Long (Eds.), The Testing structural

equation models (pp. 136-162). Newbury Park, CA: Sage.

Fornell, C., and Larcker, D. F. (1981). Structural Equation Models with Unobservable Variables and Measurement Error: Algebra and

Statistics. Journal of Marketing Research, 18, 382-388. http://dx.doi.org/10.2307/3150980.

Green Jr, K. W., Whitten, D., and Inman, R. A. (2008). The Impact of Logistics Performance on Organizational Performance in a Supply

Chain Context. Supply Chain Management: An International Journal, 13 (4), 317-327.

Henseler J, Ringle C.M, and Sinkovics, R.R. (2009). The Use of Partial Least Squares Path Modeling in International Marketing. Advances

in International Marketing, 20, 277–319.

Hair, J., Black, W., Babin, B., Anderson, R., and Tatham, R. (2010). Multivariate data analysis. (7th edition.). New Jersey: Pearson

Educational International, 666-669.

Joreskog, K.G., and Sorbom, D. (1989). LISREL 9.1: LISREL syntax guide. Chicago: Scientific Software International. 2551-2553.

Kaplan, R., and Norton, D. (1992). The balanced scorecard - measures that drive performance. Harvard Business Review, 71-79.

Kim, K. (2014). The impact of ISO 26000 implementation on sustainable supply chain management and competitive advantage. Retrieve

February 23, 2016, Available from: http://search.proquest.com/docview/1566520356/abstract/2E3CDAB462F345F1PQ/1?

accountid=44377.1746-1751.

Kline, R. B. (2015). Principles and practice of Structural Equation Modeling, (4th edition.). New York: Guilford publications, 137-145.

Lin, Hsiu-Fen, and Szu-Mei Lin. (2008). Technovation: the international journal of technological innovation, entrepreneurship and

technology management, 28 (3), 135-145.

Rogers, E.M. (1995). Diffusion of Innovations. 4th Edition, the Free Press, New York.

Schumacker, R. E. and Lomax, R. G., (2010). A beginner’s guide to structural equation modeling. (3rd edition.). New Jersey: Lawrence

Erlbaum Associates, 76.

Singh, J. and Sirdeshmukh, D. (2000). Agency and Trust Mechanisms in Consumer Satisfaction and Loyalty Judgments. Journal of the

Academy of Marketing Science, 28 (22), 150-167.

Sridharan, R. & Simatupang, T. (2005). An Integrative Framework for Supply Chain Collaboration. The International Journal of Logistics

Management, 16 (2), 257-274.

Srimatupang, T. M., and Sridharan, R. (2005). Supply Chain Discontent. Business Process Management Journal, 11 (4), 15-30.

Tsou, Hung-Tai and Hsu, Sheila Hsuan-Yu. (2015). Performance effects of technology–organization–environment openness, service co-

production, and digital-resource readiness: The case of the IT industry," International Journal of Information Management,

Elsevier, 35 (1), 1-14.

Wheaton, B., Muthén, B., Alwin, D. F., & Summers, G. F. (1977). Assessing Reliability and Stability in Panel Models. Sociological

Methodology, 8, 84–136. https://doi.org/10.2307/270754.

Chanvarasuth. P. Wiriyasermkul and N. Boobjing, V. (2010). A Meiosis Genetic Algorithm, 7th International Conference

on Information Technology: New Generations, Las Vegas, NV, USA, 2010, 285-289, doi: 10.1109/ITNG.2010.152.

Zhu, Q., and Geng, Y. (2001). Integrating environmental issues into supplier selection and management. Greener Management

International, 35 (35), 27-40.