สมรรถนะสำหรับนักกีฬารักบี้ฟุตบอลทีมชาติไทย ของสมาคมกีฬารักบี้ฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

Main Article Content

kwanrutai Pakdee
Patcharee Tongkampanit
Permporn Buppawong

Abstract

The purpose of this research was to investigate the competency for Thailand national rugby football players of Thai Rugby Union under the Royal Patronage of His Majesty the King. The research instrument was a questionnaire, with the content validity of 0.84, and the reliability of 0.86. The 571 samples in this study derived by purposive sampling method comprised administrators, referees, coaches and players of Thai Rugby Union under the Royal Patronage of His Majesty the King. The data analysis was conducted in percentage, mean and standard deviation. The results were found as follows:
The competency for Thailand national rugby football players of Thai Rugby Union under the Royal Patronage of His Majesty the King was found at a highest level as a whole ( gif.latex?\bar{x} = 4.26, S.D. = .27) As separated aspects were considered, the players’ fitness was found at a highest level ( gif.latex?\bar{x} = 4.32, S.D. = .40), self-thought was found at a highest level ( gif.latex?\bar{x} = 4.31, S.D. = .43), motivation/attitude and brain fitness
in sport were found at a highest level (gif.latex?\bar{x} = 4.29, S.D. = .43), personal characteristics were found at a highest level ( gif.latex?\bar{x} = 4.25, S.D. = .43), knowledge was found at a highest level ( gif.latex?\bar{x} = 4.21, S.D. = .44), and skill was found at a high level ( gif.latex?\bar{x} = 4. 15, S.D. = .42).

Article Details

Section
Publication Ethics

References

กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2563). เรื่อง ความฉลาดทางการกีฬา: บทบาทของความสามารถทางสมองที่มีต่อความสำเร็จทางการกีฬาในนักกีฬาเยาวชนไทย. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: ฟูลฟิล แมนเนจเม้นท์.

ไทยรัฐ ยนต์วิสูตร สุพิศ สมาหิโต และบรรจบ ภิรมณ์คำ. (2552). การสร้างแบบวัดความสามัคคีของนักกีฬาในกีฬาประเภททีม. วิทยาสารกำแพงแสน, 7(2), 61-72.

นารีทัต โกมารทัต และชัชชัย โกมารทัต. (2555). ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการโค้ชกับความสำเร็จในการแข่งขันของนักกีฬาแบดมินตัน. วารสารวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ, 13(3), 6.

เนาวรัตน์ ตรีเมฆ. (2553). ปัจจัยภายในที่มีผลต่อความสำเร็จในการแข่งขันกีฬาสถาบันการพลศึกษา แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 35. สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตเพชรบูรณ์.

บุญชม ศรีสะอาด. (2554). หลักการวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ: สุวิริยาสาส์น.

บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. (2549). สถิติวิเคราะห์เพื่อการวิจัย. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: จามจุรีโปร ดักท์.

พิศิษฐ ตัณฑวณิช และพนา จินดาศรี. (2561). ความหมายที่แท้จริงของค่า IOC. วารสาร การวัดการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 24(2), 3-12.

วิชัย อิงปัญจลาภ. (2538). คู่มือการสอนรักบี้ฟุตบอล. กรุงเทพฯ: กรมการศาสนา.

ศิริขวัญ วิเชียรเพลิศ. (2562). การศึกษาเพื่อวิเคราะห์งบประมาณการพัฒนากีฬาเพื่อความเป็นเลิศ. รายงานวิชาการสำนักงบประมาณของรัฐสภา ฉบับที่ 6/2562.

ศรีเรือน แก้วกังวาน. (2543). ความฉลาดทางอารมณ์. ภาควิชาจิตวิทยา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ทบวงมหาวิทยาลัย ที่ประชุมวิชาการกรมสุขภาพจิต ครั้งที่ 6.

สนธยา สีละมาด. (2551). หลักการฝึกกีฬาสำหรับผู้ฝึกสอนกีฬา. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.

สมบัติ กาญจนกิจ และสมหญิง จันทรุไทย. (2542). จิตวิทยาการกีฬา: แนวคิด ทฤษฎี สู่การปฏิบัติ. (พิมพ์ครั้งที่ 1).กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สมาคมกีฬารักบี้ฟุตบอลแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์. (2565). แผนยุทธศาสตร์สมาคมกีฬารักบี้ฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชปูถัมภ์ ปี 2565-2570. สมาคมกีฬารักบี้ฟุตบอลแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์.

สำ นักวิทยาศาสตร์การกีฬา. (2560). คู่มือออกกำ ลังกายบำ บัดทางการกีฬา. กลุ่มเวชศาสตร์การกีฬาสำนักวิทยาศาสตร์การกีฬา กรมพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา.

สืบสาย บุญวีรบุตร. (2541). จิตวิทยาการกีฬา. ชลบุรี: ชลบุรีการพิมพ์.

สุจิตรา เกิดสุข และสุนีย์ สหัสโพธ. (2564). แนวทางการจัดโภชนาการที่เหมาะสมสำหรับนักกีฬาบาสเกตบอล. วารสารสังคมศาสตร์ เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 5(1), 10-18.

อโนทัย ตรีวานิช และชัชวาลย์ เรืองประพันธ์ (2540). การศึกษาสถิติทดสอบ T-tests สำหรับทดสอบค่าเฉลี่ยของสองประชากรปกติที่เป็นอิสระกัน. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

Hemmatinezhad, M. A., Ramazaninezhad, R., Ghezelsefloo, H., & Hemmatinezhad, M. (2 0 1 2 ). Relationship between emotional intelligence and athlete’s mood with team-efficiency and performance in elitehandball players. International Journal of Sport Studies, 2(3), 155-162.

lote raikabula. (2564). สัมภาษณ์ประวัติส่วนตัวและความเป็นมาของการเป็นนักกีฬารักบี้ฟุตบอล. สัมภาษณ์ เมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2563. สนามวชิราวุธวิทยาลัย.

McClelland, D. C. (1998). Identifying competencies with behavioral-event interviews. Psychological Science,9(5), 331-339.