การพัฒนาความสามารถในการอ่านอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้กลวิธีสตาร์ท (START) ร่วมกับเทคนิคการอภิปรายกลุ่มย่อย THE DEVELOPMENT OF CRITCAL READING ABILITY OF GRADE 6 STUDENTS BY START STRATEGY TOGETHER WITH SMALL GROUP DISCUSSION TECHNIQUE
Main Article Content
Abstract
The objectives of this research were to 1) compare the critical reading ability with the learning management using the START strategy together with small group discussion techniques before and after learning and compare post-learning results using the 80 percent criterion; and 2) study the satisfaction of grade 6 students towards the learning management using the START strategy together with small group discussion techniques. The research sample consisted of 30 grade 6 students in the 1st semester of the academic year 2022 by cluster random sampling. The research tools were the lesson plans, critical reading ability test and satisfaction questionnaire.
The statistics used to analyze the data included mean, standard deviation, and t-test. The results showed that
1. The post-learning critical reading ability with the learning management using the START strategy together with small group discussion techniques was significantly higher than the prelearning ability and higher than 80 percent at the .05 level.
2. The overall satisfaction of the students towards the START strategy together with small group discussion techniques was the highest level.
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
จุไร อภัยจริรัตน์. (2555). ผลการวิธีสอนแบบอภิปรายกลุ่มย่อยต่อการคิดอย่างมีวิจารณญาณ. วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย, 5(1), 19-29.
ณัฐราพร คำญา. (2559). การเรียนรู้ภาษาไทยโดยใช้กลุ่มอภิปรายประกอบการจัดกิจกรรมตามรูปแบบ BBL เพื่อส่งเสริมการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ การคิดแก้ปัญหาและความเชื่อมั่นในตนเอง. วิทยานิพนธ์ปริญญา การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ถลำ ชำนาญจันทร์. (2558). การพัฒนาความสามารถด้านการอ่านภาษาไทยอย่างมีวิจารณญาณ การคิดและความเชื่อมั่นในตนเองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้กลุ่มร่วมมือแบบ NHT ประกอบกิจกรรมการอภิปราย. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการเรียนการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
ทิศนา แขมมณี. (2561). ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพื่อพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ.(พิมพ์ครั้งที่11). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
พรสุดา อินทร์สาน. (2558). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้แนวคิดการฝึกหัดทางปัญญาร่วมกับการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเพื่อสร้างเสริมความสามารถในการอ่านคิดวิเคราะห์. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ภัทราณี เวียงนาค. (2562). การจัดการเรียนรู้โดยใช้กลวิธีสตาร์ท (START) เพื่อพัฒนาความสามารถในการอ่านอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาการสอนภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
โรงเรียนคีรีรัตนาราม. (2562). รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาปีการศึกษา 2562. (อัดสำเนา).
ศิริวรรณ ฉากแก้ว. (2537). ผลการใช้การอภิปรายกลุ่มย่อยที่มีต่อความสามารถทางการเขียนภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาครุศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สริญญา มาศรี. (2562). การพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณในศตวรรษที่ 21. วารสารศึกษาศาสตร์, 14(2), 107-121.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรีเขต 2. (2562). สรุปผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (0-NET) ปีการศึกษา 2562. (เอกสารอัดสำเนา).
สุรีย์ภรณ์ บุญญมงคล. (2553). การใช้กลวิธีสตาร์ทเพื่อส่งเสริมความเข้าใจในการอ่านและความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการสอนภาษาอังกฤษ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
สุวัฒน์ วิวัฒนานนท์. (2551). ทักษะการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน. (พิมพ์ครั้งที่ 2). นนทบุรี: ซี.ซี. นอลลิดจ์ลิงคส์.
Pressley. (1997). How Can Good Strategies Use Be Taught to Children? Evaluation of Six Alternative Approaches. In Transfer of Learning Contemporary Research and Application.Cornier S.; & Hagman J. Orlando FL: Academic Press.
Scharlach, T.D. (2008). START Comprehending: Students and Teacher Acively Reading Text. The Reading Teacher Journal, Accessed September 1, 2012.