การพัฒนาบทเรียนมัลติมีเดียบนเว็บร่วมกับการจัดการเรียนรู้การใช้ปัญหาเป็นฐาน เพื่อส่งเสริมทักษะด้านการอ่าน กรณีศึกษาวิชาภาษาไทยสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 THE DEVELOPMENT WEB MULTIMEDIA LESSONS WITH PROBLEM-BASED LEARNING FOR PROMOTE READING SKILLS CASE STUDIES OF THAI LANGUAGE COURSE FOR MATHAYOMSUKSA 2 STUDENTS

Main Article Content

อุไรวรรณ ศรีไชยเลิศ
ธนาวดี ขุนด้วง

Abstract

        This research aimed to (1) develop and evaluate the quality of web multimedia lessons using problem-based learning in a Thai language course; (2) measure the efficiency of the web multimedia lessons using problem-based learning in a Thai language course; (3) compare the students’ academic achievement before and after implementing the web multimedia lessons using problem-based learning in a Thai language course; (4) evaluate the quality of the students’ reading skills after implementing the web multimedia lessons; and (5) measure the students’ satisfaction towards the web multimedia lessons. The sample group, derived from cluster sampling, consisted of 1 class of 36 Mathayomsuksa 2 students in Kanchanaphisek Wittayalai Suphanburi School in Semester 2, Academic Year 2019. The research instruments consisted of (1) web multimedia lessons using problem-based learning in a Thai language course, (2) learning management plans using problem-based learning in a Thai language course,  (3) an achievement test, (4) a Thai language reading skills assessment form, and (5) a student satisfaction assessment form. The statistics used for the data analysis included mean, standard deviation and t-test dependent samples.


           The results of the study were as follows: (1) For the web multimedia lessons using problem-based learning in a Thai language course, the content quality was at a high level, and the production level was at the highest level; (2) The efficiency levels of the web multimedia lessons using problem-based learning in a Thai language course were 88.33/86.94, which were higer than the criteria; (3) The student’s academic achievement after implementing the web-based multimedia lessons using problem-based learning management was significantly higher than before implementing the lessons at the .05 level; (4) The students’ reading skills were found to be at a good level; and (5) The students’ satisfaction towards the web multimedia lessons was at the highest level.

Article Details

Section
Publication Ethics

References

กิติยา พรหมสอน. (2559). รายงานผลการพัฒนาการใช้บทเรียนสื่อมัลติมีเดียกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ

และเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง สร้างสรรค์นิทานแอนิเมชันคำขวัญปทุมธานีตามจินตนาการด้วยโปรแกรม Microsoft PowerPoint 2016. ค้นเมื่อ กันยายน 12, 2562, จาก

http://www.ska2.go.th/reis/data/research/25610404_160752_5166.pdf.

จิรัฐิติกาล ไชยธวัช. (2549). การพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความสำคัญของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

โดยใช้เทคนิค 9 คำถาม. เชียงใหม่ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

นพดล แสงสิน และ อินทิรา รอบรู้. (2562). การจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐานโดยใช้บทเรียนมัลติมีเดียวิชา

คอมพิวเตอร์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนหนองปลาหมอพิทยาคม อำเภอบ้านโป่ง

จังหวัดราชบุรี. วารสารชุมชนวิจัย, 13(1), 167-177.

บุญณิสา ส่งแสง. (ม.ป.ป). บทความทางวิชาการเรื่อง "ทำไมการศึกษาไทยจึงพัฒนาช้า". ค้นเมื่อ มีนาคม 16,

, จาก http://school8.education.police.go.th/technical/technical05.html.

มนัญชยา เรืองวงศ์โรจน์. (2560). การพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์เพื่อการทบทวน รายวิชาการบริหารทรัพยากร

มนุษย์ สำหรับนักศึกษาระดับอนุปริญญา วิทยาลัยชุมชนสมุทรสาคร. วารสาร Veridian E Journal ฯ

สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, 10(2), 1301-1316.

มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการศึกษา. (ม.ป.ป). การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem–based Learning

: PBL). ค้นเมื่อ กรกฎาคม 18, 2562, จาก http://www.ires.or.th/?p=801.

ศิริวัลย์ ไผ่เฟื้อย. (2552). การพัฒนาทักษะการอ่าน โดยใช้ชุดกิจกรรมแบบฝึกทักษะการอ่านภาษาไทย

ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1/1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์

ศึกษาศาสตร์ มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

สุจิตรัตน์ ทิพย์ธารัตน์ เอกนฤน บางท่าไม้. (2559). การพัฒนาบทเรียนมัลติมีเดียรูปแบบการ์ตูน วิชา ดนตรี สำหรับ

นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1. วารสาร Veridian E-Journal, Silpakorn University ISSN 1906 –

ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, 9(2), 1262-1275.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2550). การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน. กรุงเทพฯ: สหกรณ์

การเกษตรแห่งประเทศไทย.