THE RELATIONSHIP BETWEEN TRANSFORMATIONAL ADMINISTRATORS’ LEADERSHIP AND THE HUMAN RESOURCES ADMINISTRATION IN BASIC EDUCATION SCHOOLS UNDER KANCHANABURI EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 3

Main Article Content

Wutthipat Matthayom
ผศ.ดร.พงษ์ศักดิ์ รวมชมรัตน์

Abstract

                 The research aimed to study the relationship between administrators’ leadership and the human resources administration of the basic education school administrators. The research sample of 280 chairmen of committee and teachers in the subject area, selected from the population of 1,026 by simple random sampling. A constructed rating scale questionnaire with the reliability of 0.97 was used as a tool to collect data which were analyzed in terms of percentage, mean, standard deviation, and Pearson’s correlation coefficient.


The findings:


  1. The level of the administrators’ leadership was, overall and in separate aspects, found high as written in descending order: transformational leadership was at a high level, and transactional leadership was at a moderate level.

  2. The level of the human resources administration of the administrators as perceived by teachers was, overall and in separate aspects, found high as written in descending order: placement planning, recruitment, development, retention, and appraisal

  3. The relationship between administrators’ leadership and the human resources administration as perceived by teachers was positively high (r=0.85) at statistical significance of 0.01.

Article Details

Section
Research Articles

References

กนกกรรณิกา ตงมั่นคง. (2556). การบริหารงานบุคคลในโรงเรียนอนุบาลสมุทรสาคร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.
ขวัญหทัย ทองธิราช. (2551). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารกับสภาพความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้โรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาหนองบัวลำภู. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.
ชาญชัย ไชยคำภา. (2551). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนกับประสิทธิผล ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาหนองคาย. ภาคนิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี.
ชูศรี วงศ์รัตนะ. (2544). เทคนิคการใช้สถิติเพื่อการวิจัย. กรุงเทพฯ: เทพนิมิตร.
ไตรมิตร หงส์ทอง. (2552). ภารกิจการบริหารงานบุคคลของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ช่วงชั้นที่ 1-2 ในสถานศึกษาขนาดเล็ก และสถานศึกษาขนาดกลาง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่สุพรรณบุรี เขต 2. ภาคนิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี.
ธีระ รุญเจริญ. (2550). การบริหารโรงเรียนยุคปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพฯ: ข้าวฟ่าง.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค .
สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา. (2550). เอกสารประกอบการพัฒนาผู้นำการเปลี่ยนแปลงเพื่อรองรับการกระจายอำนาจสำหรับผู้บริหารการศึกษาและผู้บริหารสถานศึกษา. กรุงเทพฯ: สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา.
สมพงษ์ สิงหะพล. (2547). ความเป็นผู้นำทางวิชาการของผู้บริหาร. วารสารราชพฤกษ์, 3, 120.
สิริชัย นนทะศรี. (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารกับการทำงานเป็นทีมที่มีประสิทธิภาพของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.
สุขุม เฉลยทรัพย์. (2550). ผู้นำ 360 องศา. กรุงเทพฯ: วี เจ พริ้นติ้ง.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต 3. (2561). แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561. กลุ่มนโยบายและแผน: ผู้แต่ง.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2546). ผู้บริหารสถานศึกษาต้นแบบ. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว
อนันตชัย รุ่งโรจน์. (2554). ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษากับการบริหารงานบุคคลในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครราชสีมา เขต 7. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
อัมพร เพชรโชติ. (2554). กระบวนการการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามทัศนะของครูหัวหน้าฝ่ายบริหารงานบุคลากรสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษายะลา. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.
Bass, B. M., and Avolio, B. (1994). Improving organization effectiveness through transformation leadership. California: Sage.
Krejcie, R. V., and Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3). 607-613.
Likert, R. (1976). New patterns of management. New Yok: McGraw-Hill.