ดัชนีชี้วัดการเป็นองค์กรนวัตกรรมในประเทศไทย

Main Article Content

จิราภรณ์ ชนัญชนะ และคณะ

บทคัดย่อ

     ปัจจุบันโลกเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างกะทันหัน ฉับพลัน สภาพแวดล้อมใหม่ของอุตสาหกรรมต่าง ๆ สิ่งที่วางแผนไว้ล่วงหน้าสามารถเปลี่ยนแปลง เกิดขึ้นใหม่ หรือไม่เป็นไปตามแผนที่คาดหวัง ประกอบกับสภาพการแข่งขันเศรษฐกิจโลกที่รุนแรงขึ้น ล้วนส่งผลให้องค์กรต้องปรับปรุงตัวเพื่อความอยู่รอด ด้วยเหตุนี้นวัตกรรมจะเป็นปัจจัยหลักที่ช่วยให้องค์กรสามารถยืนหยัดท่ามกลางความท้าทายดังกล่าวได้อย่างยั่งยืน
     ดัชนีชี้วัดเป็นมาตรฐานตัวหนึ่งที่องค์กรต้องยึดถือ เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาสู่การเป็นองค์กรนวัตกรรม โดยดัชนีชี้วัดจะต้องมีคุณลักษณะที่สามารถกำหนดทิศทาง วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และกลยุทธ์ ที่ชัดเจน สามารถสร้างนวัตกรรมเพื่อยกระดับคุณภาพองค์กร มีผู้นำองค์กรที่มีวิสัยทัศน์และเป็นนักพัฒนา รวมถึงสร้างองค์กรให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ผู้บริหารมีความมุ่งมั่น ผลักดันให้เกิดการสร้างวัฒนธรรมภายในองค์กร และให้ความสำคัญกับการพัฒนาบุคลากร การสร้างบรรยากาศและสภาพแวดล้อมในที่ทำงานที่เอื้อต่อการพัฒนานวัตกรรม และองค์กรมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ทั้งคน กระบวนการ ธุรกิจ ผลิตภัณฑ์ และบริการ


* หลักสูตรการจัดการดุษฎีบัณฑิต วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ 73170
**,**** อำนวย บุญรัตนไมตรี ฐิติมา โห้ลำยอง และศุภวัฒน์ สุขะปรเมษฐ วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ 73170

Article Details

How to Cite
ชนัญชนะ และคณะ จ. (2023). ดัชนีชี้วัดการเป็นองค์กรนวัตกรรมในประเทศไทย. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐม, 10(1), 160–170. https://doi.org/10.14456/jmsnpru.2023.13 (Original work published 30 มิถุนายน 2023)
บท
บทความวิจัย

References

กีรติ ยศยิ่งยง. (2552). องค์การแห่งนวัตกรรม แนวคิด และกระบวนการ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ขวัญใจ เตชเสนสกุล. (2562). VUCA World โลกแห่งความผันผวน...New Normal ในยุคปัจจุบัน. [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 19 กุมภาพันธ์ 2566 จาก https://www.exim.go.th/getattachment

ชัชพล ทรงสุนทรวงศ์. (2559). นวัตกรรมการบริการ : กลยุทธ์ที่สร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันขององค์การธุรกิจบริการ. วารสารการจัดการสมัยใหม่, 14(2), 13-24.

ประเวช ชุ่มเกษรกูลกิจ, ศจีมาจ ณ วิเชียร. (2561). พฤติกรรมสร้างนวัตกรรมในการทำงานแนวคิดปัจจัยเชิงสาเหตุ ความท้าทาย, วารสารพฤติกรรมศาสตร์เพื่อการพัฒนา, สถาบันวิจัยพฤศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, (10), 25-41.

สำนักงานข้าราชการพลเรือน. (2566). Digital Disruption และมาตรการรับมือด้าน HR ของภาครัฐ. [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 19 กุมภาพันธ์ 2566 จาก https://www.ocsc.go.th/sites/default/files/digital_disruption-article-ocsc-feb2020.pdf

สนั่น เถาชารี. (2551). กลยุทธ์การบริหารความเสี่ยงด้านทรัพยากร บุคคลเพื่อความสำเร็จขององค์กร. Industrial Technology Review (187), 145-151.

สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ. (2547). การจัดการนวัตกรรมสำหรับนักบริหาร. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.

สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ. (2549). สุดยอดนวัตกรรมไทย. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.

สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ. (2553). การจัดการนวัตกรรมสำหรับผู้บริหาร (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร: สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.

สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน). (2564). ประเทศไทยบนเวทีดัชนีนวัตกรรมโลก Global Innovation Index (GII 2021). [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 14 พฤศจิกายน 2565 จาก https://regional.nia.or.th/th/content/category/detail/id/10/iid/59

สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์. (2562). ขีดความสามารถในการแข่งขันของไทยปี 2019 โดย World Economic Forum. [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 10 ธันวาคม 2565 จาก https://www.etda.or.th/th/Useful-Resource/knowledge-sharing/articles/Global-Competitiveness-Index.aspx

อนันต์ มณีรัตน์. (2559). ความผูกพันในองค์การ: ศึกษากรณี สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี.วิทยานิพนธ์ หลักสูตรปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Ekvall, G. (2002). The Climate for Creativity and Innovation. M1 Creativity Fresh Perspective Ideas Solution. Retrieved October 1, 2021 from http://www.m1creativity.co.uk/innovationclimate.html.

Jon-Arild, J. (2009). A systemic approach to innovation: The interactive Innovation model. Kybernetes, 38(1-2), 158-176.

Harvard Business School. (2003). Managing creativity and innovation. Boston: Harvard Business School.

Holder, B. J., & Matter, G. (2008). The Innovative Organization. Retrieved October 1, 2021 from http://www.geocities.com/CollegePark/Library/1048/innova.html.

McGregor, J. (2008). The World's Most Innovative Companies. Bloomberg BusinessWeek. (April). Retrieved October 1, 2021 from http://www.businessweek.com/magazine/

content/08_17/b4081061866744.html.

Sunje, A., & Pasic, M. (2003). Innovative Organization Human Resource Management Model. In 7 th International Research/Expert Conference “Trends in the Development of Machinery and Associated Technology”. pp. 1-3.

Tidd, J., Bessant, J., & Pavitt, K. (2001). Managing Innovation Integrating Technological Market and Organization Change. Chichester: John Willey & Sons.