การตัดสินใจทางจริยธรรมในสถาบันอุดมศึกษา

Main Article Content

ภาณุมาศ ทองชะนะ
รวิภา ธรรมโชติ

บทคัดย่อ

     การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาวิธีการตัดสินใจทางจริยธรรมของบุคลากรสายวิชาการในสถาบันอุดมศึกษา เมื่อต้องเผชิญกับสถานการณ์ความขัดแย้งทางจริยธรรมในการพิจารณากำหนดตำแหน่งทางวิชาการ โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพแบบปรากฏการณ์วิทยาแนวการตีความและการศึกษาเอกสาร เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึกจากบุคลากรสายวิชาการในสถาบันอุดมศึกษา จำนวน 17 คน
     จากการศึกษา พบว่า การตัดสินใจทางจริยธรรมในสถาบันอุดมศึกษา ส่วนใหญ่เป็นการตัดสินใจแบบไม่มีโครงสร้าง เนื่องจากความซับซ้อนของสถานการณ์และความไม่ชัดเจนของปัญหา ทำให้ไม่สามารถกำหนดวิธีการตัดสินใจ เพื่อแก้ไขปัญหาความขัดแย้งทางจริยธรรมไว้ล่วงหน้าโดยคุณลักษณะส่วนบุคคลด้านประสบการณ์ของผู้มีบทบาทในการตัดสินใจและวัฒนธรรมองค์การส่งผลต่อการตัดสินใจทางจริยธรรม


* นักศึกษาปริญญาเอก ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง 10240
** รองศาสตราจารย์ ดร. คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง 10240
Corresponding author: email tpanumas@gmail.com

Article Details

How to Cite
ทองชะนะ ภ. . ., & ธรรมโชติ ร. . (2023). การตัดสินใจทางจริยธรรมในสถาบันอุดมศึกษา. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐม, 10(1), 150–159. https://doi.org/10.14456/jmsnpru.2023.12 (Original work published 30 มิถุนายน 2023)
บท
บทความวิจัย

References

พลอย สืบวิเศษ. (2561). จริยธรรมทางการบริหารงานในภาครัฐ สำหรับนักบริหารในภาครัฐและองค์การไม่แสวงหากำไร.(พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : รัตนไตร.

สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ. (2565). ดัชนีวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม บันไดสู่การพัฒนาประเทศ 2565. [ออนไลน์].ค้นเมื่อ 21 กุมภาพันธ์ 2566 จาก https://pr.nrct.go.th/wpcontent/uploads/2022/11/PDF_November/Handout_R_Index2565.pdf

Beck, M. A., Bowman, J.S., and West, J. P. (2010). Achieving competencies in public service: the professional edge. (2nd ed.). New York: M.E. Sharpe.

Bishop, W.H. (2013). The role of ethics in 21st century organizations. Journal of business ethics, 118(3), 635-637.

Bordvik, M. B. (2022). Ethical code of conduct and its impact in decision making among managers in local government in Zimbabwe. (Doctoral dissertation). Minnesota. Walden University.

Chauhan, D., and Chauhan, S. P. (2002). Ethical dilemmas faced by managers: Some real-life cases. Indian journal of industrial relations, 37(3), 370-385.

Denhardt, R. B., and Denhardt, J. V. (2009). Public administration: an action orientation. (6th ed.). California: Thomson.

Jones, J.J. (1991). Earnings Management during Import Relief Investigations. Journal of Accounting Research, 29, 193-228.

Kidder, R. M. (2009). How Good People Make Tough Choices: Resolving the Dilemmas of Ethical Living. Harper Perennial.

Lawton, A., Lasthuizen, K., and Rayner, J. (2013). Ethics and management in the public sector. Abingdon: Routledge.

Menzel, D.C. (2007). Ethics management for public administrators: Building organizations of integrity. New York: Sharpe.

Roshanzadeh, M., Sadooghiasl, A., Vanaki. Z. (2020). Sensitivity in ethical decision-making: The experiences of nurse managers. Nursing Ethics, 27(5), 1174-1186.

Schwartz, M. S. (2016). Ethical decision-making theory: An integrated approach. Journal of business ethics, 139(4), 755-776.

Trevino, L. K. (1986). Ethical decision-making in organizations: A person-situation interactionist model. The Academy of Management Review, 11(3), 601-617.

Veijeren, J. M. (2011). Guide to organizational ethics. Windhoek: Namibia Institute for Democracy.

Yin, R. K. (2015). Qualitative research from start to finish (2nd ed.). New York: Guilford Press.