อิทธิพลของความผูกพันที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีในองค์การ ของพนักงานเจนเนอเรชั่นวายในกรุงเทพและปริมณฑล
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีในองค์การของพนักงานเจนเนอเรชั่นวายในกรุงเทพและปริมณฑล เมื่อจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ (2) อิทธิพลของความผูกพันที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีในองค์การของพนักงานเจนเนอเรชั่นวายในกรุงเทพและปริมณฑล ผู้วิจัยใช้การเลือกตัวอย่างแบบสะดวก โดยการเก็บแบบสอบถามออนไลน์จาก พนักงานบริษัทเอกชนในกรุงเทพ และปริมณฑล จำนวน 400 ราย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน การทดสอบที การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว และ การวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุ
ผลการวิจัยพบว่า
1. พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีในองค์การของพนักงานเจนเนอเรชั่นวายในกรุงเทพและปริมณฑล มีความแตกต่างกันตามสถานภาพ และรายได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
2. อิทธิพลของความผูกพันที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีในองค์การของพนักงานเจนเนอเรชั่นวายในกรุงเทพและปริมณฑล ประกอบไปด้วย ความยินยอมทำตาม (b=0.22) การยึดถือองค์การ (b=0.27) และ การซึมซับค่านิยมองค์การ (b=0.36) สมการมีอำนาจการพยากรณ์ร้อยละ 44 โดย สามารถเขียนสมการพยากรณ์ได้ดังนี้
Y ̂= 0.18+ 0.22 x1 ** + 0.27 X2 **+ 0.36 X3**ิ
* คณะบริหารธุรกิจมหาวิทยาลัย รามคำแหง 10240
ทีมงานวิจัยประกอบไปด้วย ดร.ชัยพร ธนถาวรลาภ และ ดร.พนิดา ชินสุวพลา
คณะบริหารธุรกิจมหาวิทยาลัย รามคำแหง 10240
ดร.จรูญ ชำนาญไพร
ตลาดสี่มุมเมือง ปทุมธานี 12000 (Si Mum Muang Market, Pathum Thani 12000)
ดร.ภัธรภร ปุยสุวรรณ
คณะธุรกิจศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม 73000
Corresponding author: sirinan41@hotmail.com
Article Details
ทัศนะและข้อคิดเห็นของบทความที่ปรากฏในวารสารฉบับนี้เป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน ไม่ถือว่าเป็นทัศนะและความรับผิดชอบของกองบรรณาธิการ
References
พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การของบุคลากรในมหาวิทยาลัย ปัจจัยส่วนบุคคลประเภท
บุคลากร รายได้เฉลี่ยต่อเดือน และวุฒิการศึกษา มีผลต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ.
วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. 13 (1).37-50.
ธนัชพร เลขวัต และรัชนีวรรณ วนิชย์ถนอม. (2560).ความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบ การรับรู้
บรรยากาศองค์การและพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ โดยมีความสุขในการทำงานเป็นตัว
แปรสื่อของข้าราชการในหน่วยงานราชการแห่งหนึ่ง.วารสารสังคม และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์ .43 (1).99-118.
ประไพศรี ธรรมวิริยะวงศ์. (2562).แนวทางการพัฒนาความผูกพันของพนักงานในองค์กร. วารสารวิทยาลัย
ดุสิตธานี .13 (2).493-504
วิภาพร สิงห์บุตร.(2562).ปัจจัยสภาพแวดล้อมในการทำงาน และความผูกพันต่อองค์การที่มีอิทธิพลต่อ
พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีของบุคลากรส่วนกลาง กรมศุลกากร.วารสารบริหารธุรกิจและ
สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง. 1 (2). 110-12.
Bateman, T. S., & Organ, D. W. (1983). Job Satisfaction and the Good Soldier: The
Relationship between Affect and Employee “citizenship”. Academy of Management
Journal, 26(4), 587-595
Byrne, Z. S. (2014). Understanding employee engagement: Theory, research, and practice.
NY: Routledge.
Chester, B. I. (1938). The Functions of the Executive. Cambridge, MA: Harvard
University Press.
Cochran, W. G. (1953). Sampling techniques. NY: John Wiley
Farh, J. L., Zhong, C. B., & Organ, D. W. (2004). Organizational citizenship behavior in the
People's Republic of China. Organization Science, 15 (2), 241-253.
Organ, D. W. (1988). Organizational Citizenship Behavior: The Good Soldier Syndrome.
Lexington, MA: Lexington Books.
Organ, D. W. (1990). The motivational basis of organizational citizenship behavior. In
B. M. Staw & L. L. Cummings (Eds.), Research in organizational behavior. (pp. 43–72). (12th ed.) Greenwich, CT: JAI
Organ, D. W., Podsakoff, P. M., & MacKenzie, S. B. (2006). Organizational Citizenship
Behavior: Its Nature, Antecedents and Consequences. Thousand Oaks: Sage.
Riggio, R. E. (2002). Introduction to Industrial / Organizational Psychology. (4th ed.) NJ:Prentice-Hall.
Smith, C. A., Organ, D. W., & Near, J. P. (1983). Organizational Citizenship Behavior:
Its Nature and Antecedents. Journal of Applied Psychology, 68(4), 653-663.
Spitzmuller, M., Van Dyne, L., & Ilies, R. (2008). Organizational citizenship behavior: A review
and extension of its nomological network. The SAGE handbook of organizational behavior, 1, 106-123.