การรู้เท่าทันสื่อ : ประโยชน์และการนำไปใช้ กรณีศึกษา นักศึกษาจีน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

Main Article Content

เยาวภา บัวเวช
ทิวาพร ทราบเมืองปัก

บทคัดย่อ

                รู้เท่าทันสื่อของนักศึกษาจีน ประชากร คือ นักศึกษาจีน จากวิทยาลัยเทคโนโลยีการอาชีพหนานหนิง  ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน  จำนวน 19 คน หลักสูตรภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร รายวิชาการเขียนภาษาไทย ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ปีการศึกษา 2561  โดยไม่ใช้หลักความน่าจะเป็น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม 1 ชุด ที่สร้างและพัฒนาขึ้นตามกรอบแนวคิดของการวิจัยเพื่อให้ได้ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ใช้โปรแกรมสำเร็จรูป และสถิติพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
                ผลการวิจัยพบว่า 1) ประโยชน์ในเรื่องการรู้เท่าทันสื่อของนักศึกษาจีน เฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ทั้งในภาพรวมและรายข้อ (µ = 4.50, σ = 0.66) และ 2) การนำไปใช้ในเรื่องการรู้เท่าทันสื่อของนักศึกษาจีน เฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ทั้งในภาพรวมและรายข้อ (µ = 4.35, σ = 0.76)


* ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม 73000
** อาจารย์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม 73000
Corresponding Author: yaowapa_1964@hotmail.com

Article Details

How to Cite
บัวเวช เ. . ., & ทราบเมืองปัก ท. . . (2020). การรู้เท่าทันสื่อ : ประโยชน์และการนำไปใช้ กรณีศึกษา นักศึกษาจีน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐม, 7(1), 107–120. https://doi.org/10.14456/jmsnpru.2020.8
บท
บทความวิจัย

References

กาญจนา แก้วเทพ. (2551). แนวทางหนึ่งของการศึกษาสื่อบุคคล กรณีศึกษาโครงการร่วมกันปั้นแต่งนักสื่อสารสุขภาพ. การจัดการความรู้เบื้องต้นเรื่องการสื่อสารชุมชน. กรุงเทพมหานคร : ภาพพิมพ์.

กวิสรา ทองดี. (2557). การพัฒนาระดับการรู้เท่าทันสื่อ โดยใช้ชุดฝึกอบรมแบบผสมผสานความจริงเรื่องการรู้เท่าทันสื่อโฆษณาสำหรับเด็กและเยาวชน. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรอุตสาหกรรมมหาบัณฑิต. คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.

บุบผา เมฆศรีทองคำ และ ดนุลดา จามจุรี. (2554). การศึกษาการรู้เท่าทันสื่อ : วิถีทางในการสร้างพลังการรู้เท่าทันสื่อ. การรู้เท่าทันสื่อ : การก้าวทันบนโลกข่าวสาร. วารสารนักบริหาร มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.31 (1): 117 – 123.

พรทิพย์ เย็นจะบก. (2552). ถอดรหัสลับความคิดเพื่อการรู้เท่าทันสื่อ คู่มือการเรียนรู้เท่าทันสื่อ. กรุงเทพมหานคร :ออฟเซ็ท ครีเอชั่น จำกัด.

เมตตา ดีเจริญ. (2558). รายงานการวิจัยเรื่อง การรู้เท่าทันสื่อ : ประโยชน์และการนำไปใช้ของนักศึกษาสาขานิเทศศาสตร์. คณะวิทยาการจัดการ. นครราชสีมา: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.

เยาวภา บัวเวช และมาริษา สุจิตวนิช. (2558). รายงานการวิจัยเรื่อง การวิจัยการรู้เท่าทันสื่อ : ประโยชน์และการนำไปใช้ของนักศึกษาสาขานิเทศศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ.นครปฐม: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.

รดี ธนารักษ์. (2558). รายงานการวิจัยเรื่อง การวิจัยการรู้เท่าทันสื่อ : ประโยชน์และการนำไปใช้ของนักศึกษาสาขานิเทศศาสตร์. คณะวิทยาการจัดการ.อุตรดิตถ์: มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์.

สุภาณี แก้วมณี. (2547). การศึกษาการรู้เท่าทันสื่อหนังสือพิมพ์ : กรณีศึกษานักศึกษาระดับอุดมศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาสื่อสารมวลชน คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

อุณาโลม จันทร์รุ่งมณีกุล. (2549). เปิดม่านการรู้เท่าทันสื่อ เปิดประตูสู่การรู้เท่าทันสื่อ : แนวคิด ทฤษฎีและประสบการณ์การรู้เท่าทันสื่อเพื่อสุขภาพ. นนทบุรี : โครงการสื่อสร้างสรรค์สุขภาพ.

Aufderheide. P.,(1992). Media Literacy. A Report of the National Leadership. Conference on Media Literacy. Queentown, MD December 7-9.

Hobbs, R., & Froast, R. ( (1999). Instructional Practices in Media Literacy Education and Their Impact on Students’ Learning. New Jersey Journal of Communication, 6 (2): 123 – 148.

Wang, G. & Cheng, H. (2004). The Media – Savvy: Teaching Media Literacy Skills Grade 2- 6. Illinois: Zephyr Press