Teaching Factors Related to Happy Learning of Nakhon Pathom Rajabhat University Students

Main Article Content

Chatpramon Phutjun
Wanlapa Wichayawong
Janjiraporn Panyindee

Abstract

                The objectives of this research were 1) to study happy learning level of Nakhon Pathom Rajabhat University Students; and 2) teaching factors related to happy learning of Nakhon Pathom Rajabhat University Students. The sample were 383 students including freshmen, sophomores and juniors of Nakhon Pathom Rajabhat University in the second semester of the academic year 2011. The Questionnaire was used as the tool for data collection. The data was analyzed in term of frequency, percentage, means, standard deviation and correlation coefficient.
                The results from the study indicated that:
                1. The happy learning of Nakhon Pathom Rajabhat University’s students was at the high level (M = 3.82, S.D = 0.51).
                2. Teaching factors statistically related to happy learning of Nakhon Pathom Rajabhat University students at the moderate level (r=.411) with the statistical significance at .01 level. Teaching factors arranged from the highest to lowest levels were as follows: teaching process (r=.399), facilitation  (r = .322) and characteristics of lecturers (r = .297).


Article history : Accepted 2 May 2014
                              SIMILARITY INDEX = 0.00

Article Details

How to Cite
Phutjun, C., Wichayawong, W., & Panyindee, J. (2018). Teaching Factors Related to Happy Learning of Nakhon Pathom Rajabhat University Students. Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University, 1(1), 1–12. https://doi.org/10.14456/jmsnpru.2014.1
Section
Research Articles

References

นันทวัน ทองพิทักษ์ และเสาวลักษณ์ ภูสมสาย. (2551). รายงานวิจัยเรื่องการศึกษาระดับความสุขในการเรียนรู้จากการเสริมสร้างพลังสำหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.อุบลราชธานี. มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.

ปัทมา ทองสม. (2554, มกราคม – เมษายน). การพัฒนาดัชนีชี้วัดความสุขในการเรียนของนักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตสังกัดกระทรวงสาธารณสุข. การพยาบาลและการศึกษา, 4(1), 88-111.

พรรณทิพา คำพรหม. (2551). ปัจจัยที่ส่งผลต่อทักษะการเรียนรู้ของนิสิตนักศึกษาคณะครุศาสตร์ศึกษาศาสตร์ : การวิเคราะห์ถดถอยแบบกำหนดลำดับขั้น. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิตสาขาวิจัยการศึกษา. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

แพรวพรรณ์ พิเศษ. (2547). โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่มีผลต่อการเรียนรู้อย่างมีความสุขของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2.วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. สาขาวิชาเทคโนโลยีวิจัยการศึกษา. มหาวิทยาลัยบูรพา.

ศศิธร สิทธิพรหม. (2548). ความสัมพันธ์ระหว่างการเรียนรู้อย่างมีความสุขกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาจิตวิทยาการศึกษา. มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2543). ก้าวสู่สหัสวรรษใหม่เด็กไทยเรียนรู้อย่างมีความสุข. กรุงเทพฯ : สำนักงานฯ.

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2556). แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559). ค้นเมื่อ 5 กุมภาพันธ์ 2556. จาก https://www.mua.go.th/~bpp/developplan/download/higher_edu_plan/PlanHEdu11_2555-2559.pdf.

สำนักงานส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม. (2555). สถิตินักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ปี 2554. ค้นเมื่อ 5 กุมภาพันธ์ 2555. จาก https://ac.npru.ac.th/form/1321517924_353986.pdf.

Woolfolk, A. E. (2001). Educational Psychology. 8th Ed. Bonton : Allyn and Bacon.

Yamane, T. (1973). Statistic: An Introductory Analysis. 3rd Ed. New York : Harper and Row.