ศีลธรรมโลกวิสัย สิทธิมนุษยชน และประชาธิปไตย

Main Article Content

สุรพศ ทวีศักดิ์

บทคัดย่อ

บทความนี้วิเคราะห์ปัญหาของศีลธรรมศาสนาที่สถาปนาอำนาจนำทาง การเมืองและทางวัฒนธรรมจากสมัยโบราณจนตลอดยุคกลาง และอภิปราย ให้เห็นว่าการเกิดขึ้นของศีลธรรมโลกวิสัยก็เพื่อโต้แย้งศีลธรรมศาสนาดังกล่าว
จากนั้นศีลธรรมโลกวิสัยจึงกลายเป็นรากฐานของสิทธมนุษยชนและประชาธิปไตย ในยุคสมัยใหม่ และผู้เขียนเสนอว่าในสังคมไทยปัจจุบัน หากเราต้องการ ประยุกต์ใช้ศีลธรรมศาสนากับประเด็นทางการเมืองและเรื่องสาธารณะอื่นๆ ย่อมจำเป็นต้องตีความศีลธรรมศาสนาสนับสนุนสิทธิมนุษยชน

Article Details

How to Cite
ทวีศักดิ์ ส. (2017). ศีลธรรมโลกวิสัย สิทธิมนุษยชน และประชาธิปไตย. วารสารสิทธิและสันติศึกษา, 3(2), 35–56. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/HRPS/article/view/164167
บท
บทความวิชาการ

References

แซนเดล, ไมเคิล. (2554). ความยุติธรรม = Justice: What’s the Right Thing
to Do? แปลโดย สฤณี อาชวานันทกุล. กรุงเทพฯ: โอเพ่นเวิลด์ส.

ไนเจล, วอร์เบอร์ตัน. (2560). เสรีภาพในการพูด: ความรู้ฉบับพกพา. แปลโดย
จอมพล พิทักษ์สันตโยธิน. กรุงเทพฯ: โอเพ่นเวิลด์ส พับลิชชิ่ง เฮาส์,.

พระไตรปิฎก เล่มที่ 14, 28.

พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2546). สิทธิมนุษยชน: สร้างสันติสุขหรือสลาย
สังคม. กรุงเทพฯ: สหธรรมิก.

พระราชวรมุนี (ประยูร ธมฺมจิตโต). (2540). ปรัชญากรีก: บ่อเกิดภูมิปัญญา
ตะวันตก. กรุงเทพฯ: ศยาม.

ฟินเลย์สัน, เจมส์ กอร์ดอน. (2559). ฮาเบอร์มาส: มนุษย์กับพื้นที่สาธารณะ
แปลโดย วรารัก เฉลิมพันธุศักดิ์.

มิน็อก, เคนเนธ. (2559). การเมือง: ความรู้ฉบับพกพา. แปลโดย กษิร ชีพเป็นสุข.
กรุงเทพฯ: โอเพ่นเวิลด์ส.

รูสโซ, ฌอง-ฌากส์. (2550). สัญญาประชาคม/หลักแห่งสิทธิทางการเมือง.
แปลโดย วิภาดา กิตติโกวิท. กรุงเทพฯ: ทับหนังสือ.

ไรท์, ไมเคิล. (2542). ตะวันตกวิกฤตคริสต์ศาสนา. กรุงเทพฯ: มติชน.

โรบินสัน, เดฟ. (2555). เพลโต. แปลโดยภัทรารัตน์ สุวรรณวัฒนา. กรุงเทพฯ:
มูลนิธิเด็ก.

เสน่ห์ จามริก. (2545). พุทธศาสนากับสิทธิมนุษยชน. กรุงเทพฯ: สำนักงาน
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ.

สุรพศ ทวีศักดิ์. ศาสนาสถาปนาการเมือง. มติชนสุดสัปดาห์ (17-23 พ.ย. 2560).

อุกฤษฏ์ แพทย์น้อย (บรรณาธิการ). (2554). ปรัชญากับอนาคตประชาธิปไตย.
กรุงเทพฯ: โครงการจัดพิมพ์คบไฟ.

ฮัลโลเวย์, ริชาร์ด. (2560). ศาสนา: ประวัติศาสตร์ศรัทธาแห่งมวลมนุษย์.
แปลโดย สุนันทา วรรณสินธ์ เบล. กรุงเทพฯ: โอเพ่นเวิลด์ส พับลิชชิ่ง
เฮาส์.

ฮาร์มอน, เอ็ม. เจ. (2555). ความคิดทางการเมืองจากเปลโตถึงปัจจุบัน. แปลโดย
เสน่ห์ จามริก. กรุงเทพฯ: สถาบันวิถีทรรศน์.

Cliteur, Paul. (2010). The secular outlook : in defense of moral and
political secularism. Blackwell public philosophy.

Harvey, Peter. (2000). An Introduction to Buddhist Ethics. New York :
Cambridge University Press

Kant, Immanuel. (1969). Groundwork of the Metaphysic of Morals.
H.J. Paton (trans, analysed). London: Hutchinson University Library.

Mill, John Stuart. (1986). On Liberty. Currin V.Shields (ed). New York:
Macmillan.

Somparn Promta. (2008). An Essay Concerning Buddhist Ethics.
Bangkok: Chulalongkorn University Press.

“นักวิชาการชี้ศาสนาถูกใช้เป็นเครื่องมืออุดมการณ์ในสังคม-ดึงสถาบันสงฆ์รับใช้
นโยบายการเมือง” https://www.prachachat.net/news_detail.
php?newsid=1424559050 (สืบค้นเมื่อ 1 ธันวาคม 2560)