โปรดระวังข้อจำกัดเชิงโครงสร้าง: อันตรายของลักษณะรัฐราชสมบัติ (patrimonial) ทางการเมือง และผลกระทบต่อการสร้างพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตย

Main Article Content

Prin Tepnarin

บทคัดย่อ

บทความชิ้นนี้ต้องการสนทนากับชุดความคิดและปฏิบัติการทางสังคม ที่เกี่ยวกับการสร้างความเป็นพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตย ผ่านการให้ ความรู้เพื่อสร้างพลเมือง (civic education) ทั้งนี้ข้อเสนอของบทความคือ ลักษณะการจัดสรรทรัพยากรสาธารณะในแบบรัฐราชสมบัติ (patrimonial) ที่แฝงอยู่ในระบบการเมืองไทยได้สร้างผลกระทบต่อการกล่อมเกลาพลเมือง อย่างร้ายกาจ และอาจมากเกินกว่าที่หลายคนคาดคิด ทั้งนี้ การนำเสนอ ประกอบด้วย หนึ่ง) ข้อจำกัดเชิงโครงสร้างสถาบัน สอง) ผลเสียร้ายแรงของ ข้อจำกัดเหล่านั้นต่อการสร้างพลเมือง สาม) แนวทางบรรเทาปัญหา

Article Details

How to Cite
Tepnarin, P. (2017). โปรดระวังข้อจำกัดเชิงโครงสร้าง: อันตรายของลักษณะรัฐราชสมบัติ (patrimonial) ทางการเมือง และผลกระทบต่อการสร้างพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตย. วารสารสิทธิและสันติศึกษา, 3(1), 67–108. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/HRPS/article/view/164153
บท
บทความวิจัย

References

หนังสือ
ถวิลวดี บุรีกุล, รัชวดี แสงมหะหมัด และเออเจนี เมริโอ (บก.). (2557). พลเมือง
ไทย - การสร้างความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย. กรุงเทพฯ:
สถาบันพระปกเกล้า.

ทิพย์พาพร ตันติสุนทร. (2553). ไปดู Civic Education ที่เยอรมัน. กรุงเทพฯ:
สถาบันนโยบายศึกษา.

______. (2555). การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง. กรุงเทพฯ : สถาบันนโยบายศึกษา.

______. (2557). พลเมือง สิทธิมนุษยชน และประชาธิปไตย. กรุงเทพฯ: สถาบัน
นโยบายศึกษา.

ปริญญา เทวานฤมิตรกุล. (2555). การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง. กรุงเทพฯ:
นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์.

พระพรหมคุณาภรณ์. (2549). ธรรมาธิปไตยไม่มา จึงหาประชาธิปไตยไม่เจอ
(จุดบรรจบ: รัฐศาสตร์กับนิติศาสตร์). กรุงเทพฯ: บริษัท พิมพ์สวย จำกัด.

วิชัย ตันศิริ. (2551). วัฒนธรรมพลเมือง. กรุงเทพฯ: สถาบันนโยบายศึกษา.

______. (2557). ศาสตร์การสอนความเป็นนักประชาธิปไตย. กรุงเทพฯ: สถาบัน
นโยบายศึกษา.

วิชัย ตันศิริ, ชัยอนันต์ สมุทวณิช, Canan Artilcan และทิพย์พาพร ตันติสุนทร.
(2557). แนวทางการศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองในสังคมประชาธิปไตย.
กรุงเทพฯ: สถาบันนโยบายศึกษา.

สถาบันพระปกเกล้า. (2555). การประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกล้า ครั้งที่ 13
ประจำปี 2554 เล่ม 2 : ความเป็นพลเมืองกับอนาคตประชาธิปไตยไทย.
กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.

สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. มปป. การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง: บทบาท
ของสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. กรุงเทพฯ: สำนักงาน
คณะกรรมการการเลือกตั้ง.

แอนดรู วอล์คเกอร์ (เขียน) จักรกริช สังขมณี (แปล). (2559). ชาวนาการเมือง.
นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน.

Michael K. Connors. (2007). Democracy and National Identity in
Thailand. NIAS.

บทความ
ลักขณา ปันวิชัย. (2542). อุดมการณ์รัฐของรัฐไทยในแบบเรียนชั้นประถมศึกษา
พ.ศ. 2464 - 2533 ไม่มีชาติของประชาชนไทยในแบบเรียน.
รัฐศาสตร์สาร. 21(3), 105 - 173.

อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์. (2531 - 2532). การเกิดแนวคิด “หน้าที่พลเมือง” ในรัฐ
ไทยสมัยใหม่. รัฐศาสตร์สาร, 14(3) - 15(1), 207 - 225.

ทิพย์พาพร ตันติสุนทร. (2555). “วิถีไทยกับการเสริมสร้างความเป็นพลเมือง
ในสังคมประชาธิปไตย”, ใน สถาบันพระปกเกล้า. เอกสารประกอบ
การประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกล้า ครั้งที่ 13 ประจำปี 2554
เรื่อง “ความเป็นพลเมืองกับอนาคตประชาธิปไตยไทย” (Citizenship
and the Future of Thai Democracy), 22 - 24 มีนาคม 2555
ณ ศูนย์ประชุมสหประชาชาติ ถนนราชดำเนินนอก กรุงเทพมหานคร,
211 - 235.

Quimpo, N. G. (2005). Review: Oligarchic Patrimonialism, Bossism,
Electoral Clientelism, and Contested Democracy in the
Philippines. Comparative Politics, 37(2), 229 - 250.

Thongchai Winichakul. (2015). The Hazing Scandals in Thailand
Reflect Deeper Problems in Social Relations. 9 October 2015
at the Institute of Southeast Asian Studies Yusof Ishak
Institute, Singapore.

วิทยานิพนธ์และงานวิจัย
ปวีณา วังมี. (2543). รัฐไทยกับการกล่อมเกลาทางการเมืองผ่านแบบเรียนในช่วง
พ.ศ. 2475 - 2487. ปริญญานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา
ประวัติศาสตร์ ภาควิชาประวัติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กรุงเทพฯ.

ปฤณ เทพนรินทร์. (2559). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การสร้างความเป็น
พลเมืองยุคเปลี่ยนผ่าน: ข้อสังเกตเบื้องต้นจากกรณีศึกษาวิชาสังคม
ธรรมาธิปไตย. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

Prajak Kongkirati. (2013). Bosses, Bullets and Ballots: Electoral
Violence and Democracy in Thailand, 1975 - 2011. Unpublished
Doctorial Dissertation, Australian National University.

เอกสารอิเล็กทรอนิกส์
คอลัมน์ตรวจการบ้าน. (2558). พลเมืองเป็นใหญ่ไม่ใช่ “วาทกรรม”, 16
พฤษภาคม 2559. https://www.dailynews.co.th/article/326058

เดอะอีสาน เรคคอร์ด. (2559). เลื่อนวันฟังข้อหาหมิ่น - พ.ร.บ. คอมฯ กรณีนักข่าว
รายงานทหารบุกบ้านนักสิทธิที่ดิน, 30 ตุลาคม 2559. https://isaanre-
cord.com/2016/10/25/land-rights-journalist-charged/

นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2559). เรามาถึงจุดนี้ได้อย่างไร? (2), 19 เมษายน 2560.
https://www.matichon.co.th/news/137528

ผู้จัดการออนไลน์. (2559). ซัด “ปรีชา” ตั้งลูกชายเป็นทหารท้าทายธรรมาภิบาล
กระทบนโยบาย คสช., 19 เมษายน 2560. https://www.manager.
co.th/Home/ViewNews.aspx?NewsID=9590000038838

ประชาไท. (2558). ธงชัย วินิจจะกูล: โซตัสสะท้อนปัญหาใหญ่ของสถาบันทาง
สังคมของไทย, 23 เมษายน 2560. https://prachatai.com/jour-
nal/2015/10/61956

______. (2559). รายงาน: โค้งท้ายๆ กับร่าง พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ มีอะไร
ที่ไม่โอเค?, 27 พฤศจิกายน 2559. https://www.prachatai.com/
journal/2016/11/68977

______. (2559). สรุปร่าง พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ ฉบับล่าสุด “บล็อคไปให้ไพศาล”,
27 พฤศจิกายน 2559. https://www.prachatai.com/journal/
2016/11/68977

______. (2559). สปท. ชงตั้ง “คกก. ไซเบอร์” ให้อำนาจทหารมีอำนาจแก้
ยามวิกฤต”, 27 พฤศจิกายน 2559. https://www.prachatai.com/
journal/2016/11/68977

______. (2559). อัยการสั่งฟ้องหลานสาวพลทหารวิเชียร คดีหมิ่นประมาทฯ
พ่วง พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์, 5 ตุลาคม 2559. https://prachatai.com/
journal/2016/09/68044

มติชนออนไลน์. (2559). ชาวบ้านโวย ร้องสอบทุจริต กลับถูกฟ้องหมิ่นเจ้าพนง.
ลั่นยอมติดคุก หากปราบทุจริตได้, 10 ตุลาคม 2559. https://www.
matichon.co.th/news/309669

สมหมาย จันทร์เรือง. (2559). โรงเรียนประชาธิปไตย, 27 พฤศจิกายน 2559.
https://www.matichon.co.th/news/366282

admin. (2558). Change.org พลังเสียงเล็กๆ สร้างการเปลี่ยนแปลงที่ยิ่งใหญ่
ในสังคมจริงหรือ?, 27 พฤศจิกายน 2559. https://www.atmornor.
com/what-is-change-org/

Thanet Ratanakul. (2559). ภาษีกูอยู่ไหน? Open Data ที่ทำให้รู้ว่าใคร
ใช้เงินคุณอยู่, 23 กันยายน 2559. https://thematter.co/byte/where-
my-tax-goes/9717