องค์ประกอบตัวชี้วัดความยั่งยืนจากแรงขับเคลื่อนของพนักงานขายในอุตสาหกรรมสีไทย

ผู้แต่ง

  • ศิรินธร เศรษฐวิริยะธาดา คณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด มหาวิทยาลัยสยาม
  • ปริญ ลักษิตามาศ คณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการตลาด มหาวิทยาลัยสยาม

คำสำคัญ:

ตัวชี้วัดความยั่งยืน, แรงขับเคลื่อนของพนักงานขาย, อุตสาหกรรมสีไทย

บทคัดย่อ

การศึกษาฉบับนี้มีวัตถุประสงค์การวิจัยหลักเพื่อ (1) ศึกษาระดับความยั่งยืนจากแรงขับเคลื่อนพนักงานขายในอุตสาหกรรมสีไทย (2) พัฒนาและตรวจสอบความตรงของตัวชี้วัดความยั่งยืนจากแรงขับเคลื่อนพนักงานขายในอุตสาหกรรมสีไทย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม ซึ่งเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างพนักงานขายในอุตสาหกรรมสีไทย จำนวนทั้งสิ้น 600 คน การวิเคราะห์ข้อมูลครั้งนี้ได้ใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS version 23 และ AMOS version 24 โดยใช้ค่าสถิติอันได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และเทคนิคการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับสอง ผลการวิจัยพบว่า ตัวอย่างพนักงานขายมีความเห็นต่อความยั่งยืนจากแรงขับเคลื่อนพนักงานขายในอุตสาหกรรมสีไทยในระดับมาก (equation =4.36) โดยมีความคิดเห็นมากที่สุดในด้าน คุณสมบัติของพนักงานขายด้านความรู้ในการขาย (equation =4.56)  คุณลักษณะของพนักงานขาย (equation =4.54) การดำเนินการขาย (equation =4.40) ความคาดหวังในการทำงานขาย (equation =4.38) การทำงานเป็นทีมขาย (equation =4.36) การสื่อสารการตลาดดิจิทัล (equation =4.34) กระบวนการขาย (equation =4.31) แรงจูงใจในการทำงานขาย(equation =4.28) ความสัมพันธภาพกับคู่ธุรกิจ (equation =4.28) และความผูกพันต่อองค์กร (equation =4.24) ตามลำดับ ผลลัพธ์คือได้ตัวชี้วัดความยั่งยืนจากแรงขับเคลื่อนพนักงานขายในอุตสาหกรรมสีไทยที่พัฒนาขึ้น ประกอบด้วย 30 ตัวชี้วัด จาก 10 องค์ประกอบ ซึ่งแต่ละองค์ประกอบต่างมีความตรงเชิงเสมือน (0.970) ตลอดจนค่าความผันแปรของค่าความเชื่อมั่นเชิงโครงสร้าง (0.767) ต่างให้ค่าน้ำหนักองค์ประกอบ ตั้งแต่ 0.40 ขึ้นไป (ค่าสัมบูรณ์) จึงมีความกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์

References

กชกร กู้สวัสดิ์. (2561). ศึกษากระบวนการขายรถยนต์ด้วยเทคนิคเหมืองกระบวนการเพื่อปรับกระบวนการขายใหม่. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิตที่ไม่มีการตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยสยาม.

จิณณพัตส์ โอสถานนท์. (2550). ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการฝ่ายการตลาด. (วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิตที่ไม่มีการตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.

ชัญญาภา สวัสดิ์สิงห์. (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจในการทำงานกับความผูกพันต่อองค์การของพนักงานการเคหะแห่งชาติ กรณีศึกษา ฝ่ายบริหารงานชุมชน2. (วิทยานิพนธ์ปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตที่ไม่มีการตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยบูรพา.

ณรงค์ โพธิ์พฤกษานันท์. (2551). ระเบียบวิธีวิจัย (พิมพ์ครั้งที่ 5). เอ็กซเปอร์เน็ท.

ณรงค์วิทย์ แสนทอง. (2546). การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่ ภาคปฏิบัติ (พิมพ์ครั้งที่ 3). เอช อาร์ เซ็นเตอร์.

เทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์. (2552). นโยบายสาธารณะกับการวางแผนกลยุทธ์ประมวลสาระชุดวิชานโยบายสาธารณะและการบริหารโครงการ หน่วยที่ 7. (สารนิพนธ์ที่ไม่มีการตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ธนกร กรวัชรเจริญ. (2555). ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงานเป็นทีมของพนักงาน บริษัท ควอลิตี้เฮ้าส์ จำกัด (มหาชน). (งานค้นคว้าอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตที่ไม่มีการตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2542). ความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงเส้น (LISREL): สถิติวิเคราะห์สำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์. โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เนตร์พัณณา ยาวิราช. (2552). ภาวะผู้นำและผู้นำเชิงกลยุทธ์ (พิมพ์ครั้งที่ 7). สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ประภาพร ชั้นงาม. (2559). ความคาดหวังและความพึงพอใจของสถานประกอบการที่มีต่อผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาการบัญชี. (การค้นคว้าอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตที่ไม่มีการตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์.

พลอยพิมพ์ พันธุมิตร. (2565, 22 ธันวาคม). สถิติ และสาเหตุการลาออกของพนักงาน (Turnover rate) ในยุคนี้ที่คุณต้องรู้?. CONSYNC. https://www.consyncgroup.com/hr_content/employee-turnover-statistic

มนตรี พิริยะกุล. (2553). ตัวแบบเส้นทางกำลังสองน้อยที่สุดบางส่วน. ใน การประชุมวิชาการสถิติและสถิติประยุกต์ ครั้งที่ 11 ประจำปี 2553. http://www.research.ru.ac.th/images/ArticleMr/1501822585_Article.pdf

ศศนันท์ วิวัฒนชาต. (2549). เทคนิคการขายอย่างมีประสิทธิภาพ. (พิมพ์ครั้งที่ 3). โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรมหาวิทยาลัย.

สมภพ บุญนาศักดิ์. (2555). ปัจจัยทางจิตสังคมที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการให้บริการส่งเสริมสุขภาพของบุคลากรที่ปฏิบัติงาน. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิตที่ไม่มีการตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สุริยพันธ์ จันทมาลา. (2557). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานและความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานโรงแรม เบสท์ เวสเทิร์น พรีเมียร์ อมาแรนธ์ สุวรรณภูมิ แอร์พอร์ต. (วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิตที่ไม่มีการตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

สุวิมล ติรกานันท์. (2550). ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์: แนวทางปฏิบัติ. (พิมพ์ครั้งที่ 7). โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Basir, M. S., Ahmad, S. Z., & Kitchen, P. J. (2010). The Relationship between sales skills and salesperson performance: an empirical study in the Malaysia Telecommunications Company. International Journal of Management and Marketing Research, 3(1), 51-73.

Byrne, B. M. (2010). Structural equation modeling with AMOS: Basic concepts, applications, and

Chen, J. K. C., Batchuluun, A., & Batnasan, J. (2015). Services innovation impact to customer satisfaction and customer value enhancement in airport. Technology in Society, 43(C), 219-230.

Cochran, W. G. (1977). Sampling techniques (3rd ed.). John Wiley & Sons.

Cronbach, L. J. (2003). Essential of psychology testing. HarperCollins.

Diamantopoulos, A., & Siguaw, J. A., (2000). Introduction to LISREL: A guide for the uninitiated. Sage Publications, Inc.

Esteghamati, A., Zandieh, A., Khalilzadeh, O., Meysamie, A., & Ashraf, H. (2010). Clustering of metabolic syndrome components in a Middle Eastern diabetic and non-diabetic population. Diabetol Metab Sysdrome, 2, 36.

Feng Chen. (2020). Numerical methods for nonequilbrium impurity models. A dissertation submitted in partial satisfaction of the requirements for the degree doctor of Philosophy. University of California san diego.

Furnham, A. (2015). Backstabbers and bullies (Reprints). Bloomsbury Publishing.

Hair, J. F., Andeerson, R. E., Tatham, R. L., & Black, W. C. (2010). Multivariate data analysis (7th ed.) Prentice Hall. https://doi.org/10.1016/j.techsoc.2015.05.010

Jackson R. W. & Hisrich, R. D. (1996). Sales and sales management. Prentice Hall International editions.

Joreskog, K. G., & Sorbom, D. (1993). Lisrel 8: Structural equation modeling with the simplis command language. Scientific Sofeware International; Lawrence Erlbaum Associates, Inc.

Kelloway, E. K. (2015). Using Mplus for structural equation modeling; A researcher’s guide (2nd ed.). Sage Publications, Inc.

Kenny, D. A., Kaniskan, B., & McCoach, D. B. (2015). The performance of RMSEA in models with small degrees of freedom. Sociological Methods & Research, 44(3), 486-507.

Kotler, P. (2017). Customer Value Management. Journal of Creating Value. 3(2), 170-172.

programming (3rd ed.). Routledge.

Punwatkar, S., & Varghese, M. (2014). Impact of competencies on sales performance: empirical evidence on salesmen at a furniture mart in central India. Pacific Business Review International, 6(12), 80-86.

Robbins, S. P. (2001). Organizational behavior (11th ed.). Pearson Prentice Hall.

Schumacker, R. E., & Lomax, R. G. (2010). A beginner’s guide to structural equation modeling (3rd ed.). Routledge/Taylor & Francis Group.

Smith, B., Andras, T., & Rosenbloom, B. (2012). Transformational leadership: Managing the twenty-first century sales force. Psychology & Marketing, 29(6), 434-444.

Suciu M, Tavares D, Zalmon. (2018). Comparative evaluation of crustaceans as bioindicators of human impact on Brazilian sandy beaches. Journal of Crustacean Biology, 38(4), 420-428.

Translated Thai References

Boonnasak, S. (2012). Psychosocial factors related to health promotion service behaviors of personnel in practice (Unpublished master's thesis). Srinakharinwirot University. (in Thai)

Bunyaratphan, T. (2009). Public policy and strategic planning: Summary of public policy and project management course, Unit 7 (Unpublished thesis). Sukhothai Thammathirat University. (in Thai)

Channgam, P. (2016). Expectations and satisfaction of employers towards graduates with a higher vocational certificate in accounting (Unpublished independent study, Master of Business Administration). Rajamangala University of Technology Rattanakosin. (in Thai)

Jantamalha, S. (2014). A study of the relationship between work motivation and organizational commitment of employees at Best Western Premier Amaranth Suvarnabhumi Airport (Unpublished master's thesis). Ramkhamhaeng University. (in Thai)

Krawatcharern, T. (2012). Factors influencing team performance of employees at Quality House Public Company Limited (Unpublished independent study, Master of Business Administration). Rajamangala University of Technology Thanyaburi. (in Thai)

Kusawasat, K. (2018). A study of the car sales process using process mining techniques to improve the sales process (Unpublished master's thesis). Siam University. (in Thai)

Osathanont, J. (2007). Information systems for marketing management (Unpublished master's thesis). Walailak University. (in Thai)

Panthumitr, P. (2022, December 22). Employee turnover statistics and reasons you need to know in this era. CONSYNC. https://www.consyncgroup.com/hr_content/employee-turnover-statistic/ (in Thai)

Piriyakul, M. (2010). Partial least squares path modeling. In Proceedings of the 11th annual conference on statistics and applied statistics (pp. 1-10). http://www.research.ru.ac.th/images/ArticleMr/1501822585_ Article.pdf (in Thai)

Pothiphruksanan, N. (2008). Research methodology (5thed.). Expernet. (in Thai)

Saenthong, N. (2003). Modern human resource management: Practical approach (3rded.). HR Center. (in Thai)

Sawasingh, C. (2016). The relationship between work motivation and organizational commitment of employees at the National Housing Authority: A case study of the Community Management Division 2 (Unpublished master's thesis). Burapha University. (in Thai)

Tirakanant, S. (2007). Social science research methodology: Practical guidelines (7th ed.). Chulalongkorn University Press. (in Thai)

Virachai, N. (1999). Linear structural relations (LISREL): Statistical analysis for social science and behavioral research. Chulalongkorn University Press. (in Thai)

Viwatthanachat, S. (2006). Effective sales techniques (3rd ed.). Chulalongkorn University Press. (in Thai)

Yavirach, N. (2009). Leadership and strategic leadership (7th ed.). Chulalongkorn University Press. (in Thai)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-12-26

How to Cite

เศรษฐวิริยะธาดา ศ. ., & ลักษิตามาศ ป. . (2024). องค์ประกอบตัวชี้วัดความยั่งยืนจากแรงขับเคลื่อนของพนักงานขายในอุตสาหกรรมสีไทย. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยธนบุรี, 19(1), 152–166. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/trujournal/article/view/278453