ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อความภักดีของลูกค้าในธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่ในจังหวัดนครราชสีมา

Main Article Content

อมรรัตน์ คลองโนนสูง
วันเกษม สัตยานุชิต
วรญา โรจนาปภาพร
อดิศักดิ์ ทูลธรรม

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาโมเดลปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อความภักดีของลูกค้า วิเคราะห์อิทธิพลของปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อความภักดีของลูกค้าในธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่ในพื้นที่จังหวัดนครราชสีมา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือประชากรเป้าหมายของการวิจัย ได้แก่ ลูกค้าที่เคยใช้บริการซื้อสินค้าในร้านค้าปลีกสมัยใหม่ ในจังหวัดนครราชสีมา ขนาดกลุ่มตัวอย่างเท่ากับ 640 ตัวอย่าง วิเคราะห์สถิติโมเดลสมการโครงสร้าง (Structural Equation Modeling: SEM) ซึ่งมีการวิเคราะห์ค่าสถิติด้วยการหาค่าความสัมพันธ์ที่มีอิทธิพลทางตรงและทางอ้อมของปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อความภักดีของลูกค้าในธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่ในพื้นที่จังหวัดนครราชสีมา ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติผลการวิจัย พบว่า ปัจจัยด้านการบริหารความสัมพันธ์ลูกค้าและปัจจัยด้านส่วนประสมทางการตลาดส่งผลทางอ้อมในทิศทางบวกต่อความภักดีของลูกค้า ปัจจัยด้านความพึงพอใจของลูกค้าส่งผลทางตรงในทิศทางบวกต่อความภักดีของลูกค้า อธิบายความแปรปรวนบริหารความสัมพันธ์ลูกค้าและปัจจัยด้านส่วนประสมทางการตลาด ความพึงพอใจลูกค้า ความภักดีของลูกค้าในธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่ในพื้นที่จังหวัดนครราชสีมา โมเดลมีความสอดคล้องกลมกลืนของโมเดลกับข้อมูลเชิงประจักษ์ สามารถอธิบายความแปรปรวนสะสมได้ร้อยละ 75

Article Details

How to Cite
คลองโนนสูง อ. ., สัตยานุชิต ว. ., โรจนาปภาพร ว. ., & ทูลธรรม อ. (2024). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อความภักดีของลูกค้าในธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่ในจังหวัดนครราชสีมา. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยธนบุรี, 18(3), 107–118. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/trujournal/article/view/274727
บท
บทความวิจัย

References

กรมการปกครอง. (2565). สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง. สืบค้นเมื่อ 15 มีนาคม 2565, จาก https://stat.bora.dopa.go.th/StatMIS/#/ReportStat/2

กรุงเทพธุรกิจ. (2560). สืบค้นเมื่อ 12 มกราคม 2565, จาก https://www.bangkokbiznews.com/business/760750.

กัลยา วาณิชย์บัญชา. (2561). สถิติสำหรับงานวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 12. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

คมคาย แสงทองคำ, ธนกร น้อยทองเล็ก และ ชัยยุทธ เลิศพาชิน. (2558) กลยุทธ์การตลาดและการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของลูกค้าธนาคารกสิกรไทยในจังหวัดลำปาง. วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม. 5(2), 62-69.

ณัฐกาญจน์ สุวรรณธารา. (2560). ศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อความพึงพอใจในการเลือกซื้อเครื่องสำอางตราสินค้าไทยของผู้บริโภค ในเขตกรุงเทพมหานคร. Journal of Humanities and Social Sciences Thonburi University, 11 (25),164-171.

ธันย์ ชัยทร และเยาวภา ปฐมศิริกุล (2560) รูปแบบกลยุทธ์การตลาดที่ส่งผลต่อความภักดีของลูกค้าร้านจำหน่ายสินค้าเกษตรอินทรีย์ในประเทศไทย. Veridian E-Journal, Silpakorn University. 10(2), 23 – 45.

ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2560). การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS และ AMOS. กรุงเทพฯ: บิซิเนสอาร์แอนด์ดี.

นรินทร์ ตันไพบูรณ์. (2564). แนวโน้มธุรกิจ อุตสาหกรรมปี 2564-2566: ธุรกิจร้านค้าปลีกสมัยใหม่. สืบค้นเมื่อ 22 มกราคม 2565, จาก https://www.krungsri.com/th/research/industry/industry-outlook/wholesale-retail/modern-trade/io/io-modern-trade-21.

นันทพร ชเลจร. (2562). โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความภักดีของลูกค้าธุรกิจสตาร์ทอัพประเภทพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์. SUTHIPARITH. 33(107), 193 – 205.

เบญชญา อภิมหาโชคโภคิน , ไพฑูรย์อิน ต๊ะขัน และธนากร น้อยทองเล็ก. (2556). กลยุทธ์การตลาดและคุณภาพบริการที่มีอิทธิพลต่อความภักดีของลูกค้าห้างค้าปลีกสมัยใหม่ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดลําาปาง. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง. 1(2), 111 – 127.

พจนีย์ ปัญญา ใจ. (2016). ปัจจัยเชื่อมโยงของความพึงพอใจที่มีอิทธิพลต่อความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพบริการและความ ภักดีของลูกค้าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์. Journal of Graduate School Sakon Nakhon Rajabhat University, 13(63), 203-212.

สมพล ทุ่งหว้า. (2560). กลยุทธ์การจัดการความสัมพันธ์กับลูกค้าเพื่อสร้างความจงรักภักดีของลูกค้าซูเปอร์เซ็นเตอร์ในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยศรีปทุม.

อดิศราพร ลออพันธุ์สกุล และกิตติพัฒน์ สุวรรณชิน. (2559). รูปแบบการตลาดธุรกิจค้าปลีกสินค้าที่ระลึกประเภทงานหัตถกรรม กรณีศึกษา ย่านวัดเกตการาม อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น,8(2),46-47.

อมรรัตน์ คลองโนนสูง; และ วันเกษม สัตยานุชิต.(2565). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อความภักดีของลูกค้าในธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่ในจังหวัดนครราชสีมา. รายงานวิจัยมหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล.

อัสรียาภร สง่าอารีย์กุล. (2563). โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความภักดีของลูกค้าที่ใช้บริการขนส่งพัสดุ. Southeast Bangkok Journal. 7(2), 113–125.

Binsar, Kristian P, F. A., & Panjaitan, H. (2014). Analysis of Customer Loyalty through Total Quality Service, Customer Relationship Management and Customer Satisfaction. International journal of evaluation and research in education, 3(3), 142-151.

Rovinelli, R. J., & Hambleton, R. K. (1997). On the use of content specialists in the assessment of criterion referenced test item validity. Dutch. Journal of Educational Research, 2(), 49-60.

Schiffman, L. G., & Kanuk, L. L. (1994). Consumer behavior. (5th ed.). Englewood Cliffs,N. J.: Prentice-Hall.

Schumacker, R. E. & Lomax, R. G., (2010). A beginner’s guide to structural equation modeling. (3rded.). New Jersey: Lawrence Erlbaum Associates.

Apimahachokpokin, B. Takhan, P. & Noithonglek. T.. (2013). Marketing Strategy and Service Quality Influence the Customers’ Loyalty of Modern Retailers in Muang Lampang District, Lampang Province. Lampang Rajabhat University journal. 1(2), 111 – 127. (in Thai)

Bangkokbiznew. (2017). Retrieved 12 January 2023, from https://www.bangkokbiznews.com/business/760750. (in Thai)

Chaitorn, T. and Pathomsirikul. Y. (2017). The Model of Marketing Strategy Affecting Customer Loyalty of Organic Products Storein Thailand. Veridian E-Journal, Silpakorn University. 10(2), 23 – 45. (in Thai)

Chalaechorn, N. (2019) a causal relationship model of factors affecting the customers’ loyalty of e-commerce startup business. SUTHIPARITH. 33(107), 193 – 205 (In Thai)

Department of Provincial Administration. (2022). Registration Administration Office Department of Provincial Administration. [Online] Retrieved on 15 March 2022. Accessible from https://stat.bora.dopa.go.th/StatMIS/#/ReportStat/2 . (in Thai)

Klongnonsung, A.; & Sattayanuchit, W. (2022). Causal Factors Influencing Customer Loyalty of Modern Trade in Nakhon Ratchasima Province. research report. Vongchavalitkul University. (in Thai)

Laorphansakul, A. & Suwannachin, K. (2016). The Marketing Model of the Souvenir Retail Business Category of Handicrafts: A Case Study of Wat Ketkaram Area, Muaeng District, Chiang Mai. FEU Academic Journal, 8(2),46-57. (in Thai)

PhanyaJai, P. (2016). Effect of Satisfaction as Mediator Factors Toward the Relationship Between Service Quality and Customer Loyalty in E-Commerce. Journal of Graduate School Sakon Nakhon Rajabhat University, 13(63), 203-212. (in Thai)

Sangaareegul, A. (2020). a causal relationship model of factors affecting the customers’ loyalty of parcel delivery. Southeast Bangkok Journal. 7(2), 113–125. (in Thai)

Sangthongkhum, K. Noithanglek, D. & Lertphachin, C. (2015) Marketing Strategy and Customer Relationship Management Influencing Satisfaction of Customers of Kasikorn Bank in Lampang Province. Nakhon Phanom University Journal. 5(2), 62-69. (in Thai)

Sincharu, T. (2017). Research and statistical data analysis with SPSS and AMOS. Bangkok: Business R&D. (in Thai)

Suwantara, N. (2017). The Study of The Marketing Mix Factors That Affect the Satisfaction of Purchasing Cosmetics Thai Brand Of Consumers In Bangkok Area. Journal of Humanities and Social Sciences Thonburi University, 11 (25),164-171. (in Thai)

Thungwa, S. (2017). Customer relationship management strategies to build customer loyalty at supercentersin Thailand. Doctor of Philosophy Thesis Major: Logistics and Supply Chain Management College of Logistics and Supply Chain Sripatum University. (in Thai)

Tunpaiboon, N. (2021). Business Industry Trends 2021-2023: Modern Retail Business. Retrieved 22 January 2022, from https://www.krungsri.com/th/research/industry/industry-outlook/wholesale-retail/modern-trade/io/io-modern-trade-21. (in Thai)

Wanichabancha, K. (2018). Statistics for research. (12thed). Bangkok: Chulalongkorn University Press. (in Thai)