การสื่อสารแบบมีส่วนร่วมผ่าน “ฮูก่มปากัต”: กรณีศึกษาการจัดการท่องเที่ยวชุมชนบ้านบันนังลูวา จังหวัดยะลา

Main Article Content

สากีเราะ แยนา เบ็ญฮารูน
ฮัมเดีย มูดอ

บทคัดย่อ

การสื่อสารแบบมีส่วนร่วมมีความสำคัญต่อการจัดการท่องเที่ยวชุมชน เพราะการสื่อสารเป็นกลไกขับเคลื่อนการพัฒนาชุมชนผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของสมาชิกในชุมชน งานวิจัยนี้มุ่งวิเคราะห์บทบาทของการสื่อสารและกลยุทธ์การสื่อสารแบบมีส่วนร่วมในการจัดการท่องเที่ยวชุมชน กรณีศึกษาการจัดการท่องเที่ยวชุมชนบ้านบันนังลูวา จังหวัดยะลา โดยมีเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ (1) การวิจัยเชิงเอกสาร (2) การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วมของนักวิจัย และ (3) การสัมภาษณ์เชิงลึกบุคคล 2 กลุ่ม คือ กลุ่มเจ้าหน้าที่ประจำสำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดยะลา จำนวน 4 คน และกลุ่มบุคคลในชุมชนท่องเที่ยวบ้านบันนังลูวา ประกอบด้วย (1) ตัวแทนคณะกรรมการวิสาหกิจชุมชนการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านบันนังลูวา จำนวน 5 คน (2) เยาวชนที่ทำงานให้กับการท่องเที่ยวชุมชนบ้านบันนังลูวา จำนวน 2 คน และ (3) ชาวบ้านที่มาขายอาหารและเครื่องดื่มในพื้นที่ท่องเที่ยวชุมชนบ้านบันนังลูวา จำนวน 2 คน รวมผู้ให้ข้อมูล 13 คน ผลการวิจัยพบว่า การสื่อสารด้วยสื่อบุคคลผ่านผู้นำทางความคิดที่ได้รับความไว้วางใจจากคนในชุมชน ใช้รูปแบบการสื่อสารระหว่างบุคคลและการสื่อสารแบบเผชิญหน้าในการสร้างการมีส่วนร่วม และใช้กลยุทธ์การสื่อสารที่ชุมชนร่วมกันกำหนด คือ “ฮูก่มปากัต” เพื่อสร้างงานและกระจายรายได้สู่ชุมชนอย่างยั่งยืน โดยชุมชนสามารถพึ่งตนเองควบคู่กับการดูแลรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้คงอยู่สืบไป

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กฤษฎา สุริยวงค์, สุวันชัย หวนนากลาง และฐิตินัน บุญภาพ คอมมอน. (2564). การสื่อสารเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์โดยชุมชนมีส่วนร่วมของจังหวัดเพชรบุรี. วารสารมนุษยสังคมปริทัศน์. 23(1): 43-57.

กองเศรษฐกิจการท่องเที่ยวและกีฬา สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2562). สรุปขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการท่องเที่ยวของไทย ปี พ.ศ.2562. สืบค้นเมื่อ 8 กันยายน 2566, จาก https://www.mots.go. th/download/article/article_20190925130927.pdf

จินตวีร์ เกษมศุข. (2561). แนวคิดการมีส่วนร่วมของประชาชนเพื่อการพัฒนาชุมชนที่ยั่งยืน. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 26(50): 169-186.

ทิพย์สุดา ปานเกษม. (2559). การสื่อสารแบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ในจังหวัดน่าน. ศิลปศาสตร มหาบัณฑิต, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

นรินทร์ สังข์รักษา และคณะ. (2553). ถอดบทเรียนกระบวนการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงแบบก้าวหน้าของวิสาหกิจชุมชนเพื่อการอยู่เย็นเป็นสุขในจังหวัดราชบุรี. นครปฐม: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.

บุญช่วย ค้ายาดี. (18 มิถุนายน 2564). การท่องเที่ยวชุมชนอย่างยั่งยืน. ไทยโพสต์ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 8 กันยายน 2566, จาก https://www.thaipost.net/main/detail/106734

ประไพพิมพ์ สุธีวสินนนท์ และประสพชัย พสุนนท์. (2559). กลยุทธ์การเลือกตัวอย่างสำหรับการวิจัยเชิงคุณภาพ. วารสารปาริชาต มหาวิทยาลัยทักษิณ. 29(2): 31-48.

ปรีดา นัคเร, ลดาวัลย์ แก้วสีนวล และเพียงพิศ ศรีประเสริฐ. (2566). กลยุทธ์การสื่อสารเพื่อการท่องเที่ยวโดยชุมชน: กรณีศึกษาบ้านนาแงะ ตำบลนาเหรง อำเภอนบพิตำ จังหวัดนครศรีธรรมราช. วารสารนาคบุตรปริทรรศน์. 5(1): 2-12.

เพชรา บุดสีทา. (2552). การจัดการด้านการตลาดการท่องเที่ยวชุมชนนครชุม จังหวัดกำแพงเพชร. กำแพงเพชร: มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร.

เมษ์ธาวิน พลโยธี, สุธาธิณี หนูเนียม และสุวิชาดา สกุลวานิชเจริญ. (2565). แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนอย่างยั่งยืน กรณีศึกษา ชุมชนไทดำ บ้านนาป่าหนาด อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย. วารสารวิชาการการท่องเที่ยวไทยนานาชาติ. 18(1): 1-25.

รายงานสถานการณ์ชายแดนใต้. (2564). เที่ยววันหยุดชมวิวเชิงเขาหน้าถ้ำ ชุมชนท่องเที่ยวบ้านบันนังลูวา สร้างงาน สร้างอาชีพ ให้ชุมชน. สืบค้นเมื่อ 3 ธันวาคม 2566, จาก https://www.southernreports.org/2021/12/26/fgrtf1425/

สมพร เกื้อไข่, วิทยาธร ท่อแก้ว และธิติพันธ์ เอี่ยมนิรันดร. (2565). การสื่อสารเพื่อการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนตะโหมด จังหวัดพัทลุง. วารสารเทคโนโลยีภาคใต้. 15(2): 1-11.

สุดถนอม ตันเจริญ. (2561). การจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชนกับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของชุมชนบางขันแตก จังหวัดสมุทรสงคราม. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี. 8(2): 32-41.

สุดารัตน์ แสงแก้ว, ปิยวรรณ สิริประเสริฐศิลป์ และปรีดา ศรีนฤวรรณ. (2561). คุณลักษณะและความชัดเจนของผู้มีอิทธิพลทางการตลาด : กลุ่มผู้นำทางความคิด. จุฬาลงกรณ์ธุรกิจปริทัศน์. 40(157): 1-24.

สุภางค์ จันทวานิช. (2553). วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 17. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อนุชา สุขแสง และวรรษิดา บุญญาณเมธาพร. (2566). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยวผ่านแพลตฟอร์มยูทูบ. วารสารวิชาการการท่องเที่ยวไทยนานาชาติ. 19(1): 74-100.

อภิญญา เฟื่องฟูสกุล. (2546). อัตลักษณ์. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.

Gilbert, D., & Abdullah, J. (2002). A study of the impact of the expectation of a holiday on an individual’s sense of well-being. Journal of Vacation Marketing. 8(4): 352-361.

Goldsmith, R. E., & Clark, R. A. (2008). An analysis of factors affecting fashion opinion leadership and fashion opinion seeking. Journal of Fashion Marketing and Management: An International Journal. 12(3): 308-322.

Muyanga, C., & Phiri, J. (2021). Assessment of effective communication in international schools in developing countries based on the Berlo’s SMCR model. Open Journal of Business and Management. 9(1): 448-459.

Yan, L. (2014). Social capital characteristics of open source software opinion leaders. Journal of Computer Information Systems. 54(4): 1-10.

Translated Thai References

Budseeta, P. (2012). Community-based marketing management on tourism of Ban Nakornchum Kamphaengphet province. Kamphaengphet: Kamphaengphet Rajabhat University. (in Thai)

Chantavanich, S. (2010). Qualitative research methods. 17thed. Bangkok: Chulalongkorn University Press. (in Thai)

Economics Tourism and Sports Division, Office of the Permanent Secretary. (2019). Summary of Thailand's tourism competitiveness in 2019. Retrieved 8 September 2023, from https://www.mots.go.th/download/article/article_20190925130927.pdf (in Thai)

Feungfusakul, A. (2003). Identity. Bangkok: National Research Council of Thailand. (in Thai)

Kasemsuk, C. (2018). Public participation approach for sustainable community development. Academic Journal of Humanities and Social Sciences. 26(50): 169-186. (in Thai)

Kayadee, B. (18 June 2021). Sustainable community-based tourism. Thai Post. Retrieved 8 September 2023, from https://www.thaipost.net/main/detail/106734 (in Thai)

Kuakhai, S., Tokaew, W., & Iamnirun, T. (2022). Communication for community-based tourism management in Tamot, Phatthalung province. Journal of Southern Technology. 15(2): 1-11. (in Thai)

Nakary, P., Kaewseenual, L., & Sriprasert, P. (2023). Communication strategies for community-based tourism: A case study of Nangae, Nareng, Nopphitam in Nakhon Si Thammarat. Narkbhutparitat Journal. 5(1): 2-12. (in Thai)

Parnkasem, T. (2016). Participatory communication for the promotion of creative tourism in Nan province. (Master of Arts Thesis, National Institute of Development Administration). (in Thai)

Polnyotee, M., Nuniam, S., & Sakulwanichcharoen, S. (2022). Sustainable community-based tourism development guideline: A case study of Tai Dam community at Ban Na Pa Nard, Chiang Khan district, Loei province. Journal of International and Thai Tourism. 18(1): 1-25. (in Thai)

Saengkeaw, S., Siriprasertsil, P., & Srinaruewan, P. (2018). The attributes and clarity of influencers in marketing: Case of opinion leaders. Chulalongkorn Business Review. 40(157): 1-24. (in Thai)

Southernreports.org. (2021). Holiday travel to see mountainside cave view, Ban Bannangluwa community-based tourism, job creation for the community. Retrieved 3 December 2023, from https://www.southernreports.org/2021/12/26/fgrtf1425/ (in Thai)

Suksang, A., & Boonyanmethaporn, W. (2023). Factors affecting travel decisions through the YouTube platform. Journal of International and Thai Tourism. 19(1): 74-100. (in Thai)

Sungrugsa, N. et al. (2013). A lesson learnt from progressive sufficiency economic activities on integrated learning processes of community enterprises for green and happiness society in Ratchaburi province. Nakhon Pathom: Faculty of Education, Silpakorn University. (in Thai)

Suriyawon, K., Hounnaklang, S., & Boonpap Common, T. (2021). Communication for creative tourism development through community participation in Phetchaburi province. Journal of Humanities and Social Sciences Review. 23(1): 43-57. (in Thai)

Sutheewasinnon, P., & Pasunon, P. (1996). Sampling strategies for qualitative research. Parichart Journal. 29(2): 31-48. (in Thai)

Tancharoen, S. (2018). Community-based tourism management and sustainable tourism development of Bangkantaek community in Samutsongkhram province. Academic Journal of Phetchaburi Rajabhat University. 8(2): 32-41. (in Thai)