กลยุทธ์การพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนเชิงสร้างสรรค์: กรณีศึกษา ตำบลทางพระ อำเภอโพธิ์ทอง จังหวัดอ่างทอง

Main Article Content

วรพจน์ ตรีสุข
อัจฌิรา ทิวะสิงห์
นภชนก ตลับเงิน

บทคัดย่อ

การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนเชิงสร้างสรรค์ และศึกษาศักยภาพการท่องเที่ยวของตำบลทางพระ อำเภอโพธิ์ทอง จังหวัดอ่างทอง ทั้งนี้ เพื่อเสนอกลยุทธ์การพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนเชิงสร้างสรรค์ของตำบลทางพระ อำเภอโพธิ์ทอง จังหวัดอ่างทอง รวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก ผู้ให้ข้อมูลหลักเป็นผู้ปฏิบัติงานและชาวบ้านในตำบลทางพระ 2 กลุ่ม คือ ภาคประชาชน 10 คน และหน่วยงานภาครัฐส่วนท้องถิ่น 6 คน ใช้การสังเกตอย่างมีส่วนร่วมและการสังเกตโดยตรงเป็นเทคนิคเสริม เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ครอบคลุม ผลการวิจัย พบว่า กลยุทธ์การพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนเชิงสร้างสรรค์ตำบลทางพระ มี 4 กลยุทธ์ ได้แก่ การผลิตสื่อประชาสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมการขายและการตลาด การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อยกระดับเศรษฐกิจฐานราก การพัฒนาเส้นทางเชื่อมโยงการท่องเที่ยวโดยชุมชนเชิงสร้างสรรค์ และการสร้างเครือข่ายความร่วมมือเพื่อการขับเคลื่อนการพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชน

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2566). แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (2566-2570). สืบค้นเมื่อ 22 พฤศจิกายน 2566, จาก https://secretary.mots.go.th/more_news.php?cid=60

กัลยาณี กุลชัย. (2561). แนวทางการสร้างเส้นทางท่องเที่ยวเชื่อมโยงเครือข่ายการท่องเที่ยวชุมชนโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนในพื้นที่ที่ปากแม่น้ำเจ้าพระยา จังหวัดสมุทรปราการ. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรฒ, 21(21), 1-18.

ชมพู โกติรัมย์ และ สุปัญญา จันทร์เพ็ญศรี. (2565). ศึกษาชุมชนท่องเที่ยวโดยฐานทางวัฒนธรรม: ชุมชนเกาะเกิด อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วารสาร มจร พุทธปัญญาปริทรรศน์, 7(1), 140-153.

ชมพู เนินหาด, สุชาดา นิ้มวัฒนากุล และปาลีรัญญ์ ฐาสิรสวัสดิ์. (2561). การจัดการความรู้เพื่อพัฒนาตน พัฒนางานอย่างสร้างสรรค์:กรณีศึกษาบุคลากรสายสนับสนุนวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้าจันทบุรี, 29(3), 217-230.

ดวงพร อ่อนหวาน, อามาศ รัตนวงศ์, ลลิตพรรณ จรรย์สืบศรี และเบญญาภา กันทะวงศ์วาร. (2555). รูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวที่เหมาะสมกับศักยภาพและบริบทของชุมชนเพื่อการพัฒนาธุรกิจการท่องเที่ยวโดยชุมชนอำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่. ศรีปทุมปริทัศน์ ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 12(2), 159 – 170.

เทศบาลตำบลทางพระ. (2565). ประวัติความเป็นมา. สืบค้นเมื่อ 16 กรกฎาคม 2565, จาก http://thangphra.go.th/public/texteditor/data/index/menu/237

นงคราญ ไชยเมือง. (2565). การพัฒนาประสิทธิภาพของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูปผลิตภัณฑ์ลำไย จังหวัดลำพูน. วารสารวิชาการเครือข่ายบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ, 12(1), 35–50.

ประภาพร สิงห์ทอง และทัตษภร ศรีสุข. (2564). การศึกษาปัจจัยการให้บริการเพื่อพัฒนาคุณภาพสู่ความเป็นเลิศ กรณีศึกษา สำนักงานแรงงานจังหวัดนครสวรรค์. วารสารวิทยาการจัดการปริทัศน์, 23(1), 159 – 172.

ภาณุพันธุ์ อักษรเสือ, อุทุมพร หลอดโค และจิตติมา มโนนัย บาร์ทเล็ทท์. (2565). ถอดบทเรียนการอบรมเชิงปฏิบัติการ: เรื่องการวิจัยเชิงคุณภาพสู่การพัฒนาทรัพยากรบุคคลของศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตน์. วารสารวิชาการ ปขมท, 11(3), 1-12.

รัตติยา เหนืออำนาจ, พระเทพปริยัติเมธี, และนัยนา เกิดวิชัย. (2562). การพัฒนาตัวแบบการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนเชิงสร้างสรรค์ในจังหวัดนครสวรรค์. วารสารมหาจุฬาวิชาการ, 7(1), 72-88.

วิชสุดา ร้อยพิลา และปรีดา ไชยา. (2558). องค์ประกอบของทรัพยากรท่องเที่ยวที่มีอิทธิพลต่อการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ของจังหวัดกาฬสินธุ์. วารสารวิจัยและพัฒนาวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 10(3), 197-211.

ศศิชา หมดมลทิล. (2562). ท่องเที่ยวโดยชุมชนวิถีสู่ความยั่งยืน. กรุงเทพฯ: ศูนย์วิจัยธนาคารออมสิน.

สุดาพิมพ์ สรสุชาติ, สายพิณ ปั้นทอง และจิรารัตน์ จันทวัชรากร. (2564). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวไทยในการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ บ้านบางเขน. วารสารสุทธิปริทัศน์, 35(2), 164-178.

หทัยชนก คะตะสมบูรณ์. (2563). การพัฒนาศักยภาพของชุมชนเพื่อสร้างเศรษฐกิจฐานรากอย่างยั่งยืน; กรณีศึกษาตำบลเนินศาลา อำเภอโกรกพระ จังหวัดนครสวรรค์. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 8(2), 473–488.

องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน). (2560). CBT ทำอย่างไรให้ยั่งยืน. กรุงเทพฯ: โปรดักส์เฮ้า แอสเซสเซอร์รี่.

อัศวิน แสงพิกุล. (2562). ระเบียบวิธีวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Albert, H. (2005). SWOT Analysis for Management Consulting. SRI Alumni Newsletter. SRI International. Retrieved from https://www.sri.com/sites/default/files/brochures/dec-05.pdf

Dickman, S. (1996). Tourism: An Introductory Text. 2nded. Australia: Hodder Education.

Peters, T. and Waterman Jr, R. H. (2011). McKinsey 7-S model. Leadership Excellence, 28(10), 2011.

Wheelen, T. L. and Hunger, J. D. (2002). Strategic management and business policy. 8thed. Upper Saddle River, NJ: Pearson Education.

Translated Thai References

Agsonsua, P., Lordko, U., & Bartlett, J.M. (2022). Lessons Learned Workshop: Qualitative Research Towards Human Resource Development of SomdechPhraDebaratana Medical Center. CUAST Journal, 11(3), 1-12. (in Thai)

Chaimuang, N. (2021). Effectiveness Development of Community Enterprise Group Processed Product from Longan, Lamphun Province. Journal of Graduate Studies in Northern Rajabhat Universities. 12(1), 35–50. (in Thai)

Designated Areas for Sustainable Tourism Administration (Public Organization). (2017). How is CBT Sustainable? Bangkok: Product House Accessories Limited Partnership. (in Thai)

Gotiram, C. & Chanphensri, S. (2022). Study of The Tourism Community Based on Culture: Koakkeak Community Bankba-In District Ayutthaya Province. Journal of MCU Buddhapanya Review, 7(1), 140-153. (in Thai)

Khatasombun, H. (2020). Community Potential Development to Create Sustainable Economic Foundations: Case Study of Noen Sala Subdistrict. Journal of MCU Peace Studies, 8(2), 473-488. (in Thai)

Kullachai, K. (2018). Guidelines for Created Tourist Route Linking the Community Based Tourism Network by the Community Participation in the Area of Chao Phraya River Estuary, Samut Prakarn Province. Journal of Social Sciences Srinakharinwirot University, 21(21), 1-18. (in Thai)

Ministry of Tourism and Sports. (2023). Third National Tourism Development Plan for 2023-2027. Retrieved November 22, 2023, from https://secretary.mots.go.th/more_news.php?cid=60 (in Thai)

Modmontin, S. (2019). Community-Based Tourism the Way to Sustainability. Bangkok: GSB Research. (in Thai)

Nernhad, C., Nimwatanakul, S., & Thasirasawa, P. (2018). Knowledge Management for Self Development and Work Creation: A Case Study of Support Staff at Phrapokklao Nursing College, Chanthaburi. Journal of Phrapokklao Nursing College, Chanthaburi, 29(3), 217-230. (in Thai)

Nuaamnat, R., Phratheppariyatmethi & Kerdvichai, N. (2019). Developing Model of Creative Community Based Tourism Management in Nakornsawan Province. Mahachula Academic Journal, 7(1), 72-88. (in Thai)

Onwan, D., Rattanawong, A., Junsubsee, L., & Kantawongwan, B. (2012). Models of Tourism Activities Appropriate for The Capability and Context of The Community for Development of Community-Base Tourism Business in San Kampaeng District, Chiang Mai Province. Sripatum Review of Humanities and Social Sciences. 12(2), 159 – 170. (in Thai)

Roiphila, W. & Chaiya, P. (2015). Tourism Resources Components Affecting Creative Tourism in Kalasin. Journal of Humanities and Social Sciences Valaya Alongkorn, 10(3), 197-211. (in Thai)

Sangpikul, A. (2022). Research Methodology for Tourism and Hospitality. Bangkok: CU Press. (in Thai)

Singthong, P. & Srisook, T. (2021). Service Factors for Quality of Service Excellence, Case Study of Provincial Labour Office Nakhonsawan. Journal of Management Science Review, 23(1), 159 – 172. (in Thai)

Sorasuchart, S., Panthong, S., & Jantawatcharakorn, J. (2021). Factors that influence Thai Traverles's decision in creative tourism at Baan Bangkhen. Suthiparithat Journal, 35(2), 164-178. (in Thai)

Thangphra Subdistrict Municipality. (2022). Background. Retrieved July 16, 2022, from http://thangphra.go.th/public/texteditor/data/index/menu/237 (in Thai)