แนวทางการพัฒนาตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์เพื่อยกระดับมูลค่าผลิตภัณฑ์แปรรูปของกลุ่มเกษตรอินทรีย์รจนาฟาร์ม อำเภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์

Main Article Content

ปริษฐา ถนอมเวช
อินทิรา มีอินทร์เกิด
ประฏิพัฒน์ แย้มชุติเกิดมณี

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) รูปแบบตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์แปรรูปกลุ่มเกษตรอินทรีย์รจนาฟาร์ม2) ปัจจัยทางการตลาดของผลิตภัณฑ์แปรรูปของกลุ่มเกษตรอินทรีย์กลุ่มเกษตรอินทรีย์รจนาฟาร์ม 3) ความแปรปรวนพหุคูณของปัจจัยทางการตลาดของผลิตภัณฑ์แปรรูปของกลุ่มเกษตรอินทรีย์รจนาฟาร์ม และ 4) แนวทางการพัฒนาตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์เพื่อยกระดับมูลค่าผลิตภัณฑ์แปรรูปของกลุ่มเกษตรอินทรีย์รจนาฟาร์ม อำเภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์ กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้บริโภคที่ใช้ผลิตภัณฑ์แปรรูปของกลุ่ม จำนวน 400 คน โดยสุ่มแบบสะดวก สถิติที่ใช้ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความแปรปรวนพหุคูณ และข้อมูลเชิงคุณภาพใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหาที่ได้จากการสัมภาษณ์ผลการวิจัยว่า
1) ส่วนใหญ่เลือกรูปแบบที่ 3 มากที่สุด  2) ปัจจัยทางการตลาด ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก 3) ผลการวิเคราะห์ความแปรปรวนพหุคูณ จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล เพศ อายุ สถานภาพ อาชีพและรายได้เฉลี่ยต่อเดือน พบว่า แตกต่างกันอย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05  และ 4) แนวทางการพัฒนาตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์ มีความต้องการรูปแบบตราสินค้าที่โดดเด่นเน้นไปทางธรรมชาติ สื่อให้เห็นถึงการเป็นสินค้าเกษตรอินทรีย์ และรูปแบบบรรจุภัณฑ์เน้นแบบขวดแก้ว ง่ายต่อการเปิดใช้งานสามารถรักษาคุณภาพของสินค้าได้ยาวนานขึ้น สะดวกต่อการขนย้ายและการจัดเรียงสินค้า นอกจากนี้ผลิตภัณฑ์ควรเน้นความเป็นเอกลักษณ์ของชุมชน สื่อถึงชุมชนท้องถิ่น โดยมีรูปภูเขาและกลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตอยู่ในตราสินค้าอีกด้วย

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กชกร คำแฝง. (2562). แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ไข่เค็มไชยา : กรณีศึกษากลุ่มวิสาหกิจชุมชนไข่เค็ม อสม.ไชยา ตำบลเลม็ด อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี. ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร.

กฤษฎา ดูพันดุง. (2561). การออกแบบบรรจุภัณฑ์และตราสินค้า กลุ่มจักสารไม้ไผ่ บ้านดงเย็น. วารสารวิจัยและพัฒนา. มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. 10(1): 127-140.

กิตติศักดิ์ ธรรมศักดิ์ชัย. (2560). การออกแบบตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ผ้าไหมแปรรูปกลุ่มวิสาหกิจชุมชนแม่บ้านเกษตรคึมมะอุ-สวนหม่อน. รายงานการวิจัย. นครราชสีมา: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน.

เกสาวดี เชี่ยวชาญ. (2557). การพัฒนารูปแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อสร้างมูลค่าผลผลิตข้าวสารสู่ตลาดผู้บริโภคแบบมีส่วนร่วมนำไปสู่การใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ กรณีศึกษา กลุ่มข้าว ชาวนาตะปอนใหญ่ ตำบลตะปอน อำเภอขลุง จังหวัดจันทบุรี. วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี.

จิตธนา แจ่มเมฆ และคนอื่น ๆ. (2552). วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ชลทิศ ดาราวงษ์. (2558). การจัดการผลิตภัณฑ์และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่. กรุงเทพฯ: ธนาเพรส.

ชัยรัตน์ อัศวางกูร. (2550). ออกแบบให้โดนใจ. พิมพ์ครั้งที่ 3. เชียงใหม่: วิทอินบุ๊คบัญชา จุลุกุล. (2561). การพัฒนาตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์ เพื่อส่งเสริมการขาย กรณีศึกษากลุ่มวิสาหกิจชุมชนตำบลรำ

แดง อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา. การประชุมวิชาการด้านมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ 1

“มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร์ : พลังปัญญาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน, 31-39.

ประชิด ทิณบุตร ธีระชัย สุขสวัสดิ์ และอดิสรณ์ สมนึกแท่น. (2559). การออกแบบพัฒนาตราสัญลักษณ์และรูปลักษณ์บรรจุภัณฑ์เพื่อเชื่อมโยงการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม สำหรับผลิตภัณฑ์สุขภาพและความงามของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดชัยนาท. วารสารวิชาการศิลปะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 7(1), 84-94.

ปริษฐา ถนอมเวช อินทิรา มีอินทร์เกิด และประฏิพัฒน์ แย้มชุติเกิดมณี. (2565). แนวทางการพัฒนาตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์เพื่อยกระดับมูลค่าผลิตภัณฑ์แปรรูปของกลุ่มเกษตรอินทรีย์รจนาฟาร์ม อำเภอศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์. รายงานการวิจัย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธนบุรี.

ยุทธ ไกยวรรณ์. (2550). หลักการทำวิจัยและการทำสารนิพนธ์. กรุงเทพฯ: ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ.

รจนา สอนชา. ประธานกลุ่มเกษตรอินทรีย์รจนาฟาร์ม. 24 พฤศจิกายน 2565. สัมภาษณ์.

วิทยา จารุพงศ์โสภณ. (2557). กลยุทธ์การบริหารแบรด์. กรุงเทพฯ: แปลน พริ้นติงท์.

วิทวัส รุ่งเรืองผล. (2558). หลักการตลาด. พิมพ์ครั้งที่ 9. ปทุมธานี: มาร์เก็ตติ้งมูฟ.

สมพงษ์ เฟื่องอารมณ์. (2550). บรรจุภัณฑ์กับการส่งออก. กรุงเทพฯ: จามจุรีโปรดักท์.

สุมาลี ทองรุ่งโรจน์. (2555). การออกแบบบรรจุภัณฑ์. กรุงเทพฯ: วาตศิลป์.

อนัตต์ สุนทราเมธากุล ภิมภ์วิมล ปรมัตถ์วรโชติ ฐิติพร อุ่นใจ และวันวิสา มากดี. (2561). การพัฒนาตราสินค้าและบรรจุภัณฑ์ของกลุ่มผู้สูงอายุชุมชนคำครตา อำเภอทรายมูล จังหวัดยโสธร เพื่อเพิ่มความสามารถทางเศรษฐกิจสร้างสรรค์. วารสารการจัดการและการพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. 8(1): 1-13.

อุดมพงษ์ เกศศรีพงษ์ศา; พาราษฎร์ สนิท; และ บุตรสาลี ผกามาศ. (2565). การพัฒนาผลิตภัณฑ์ของเกษตรกรกลุ่มข้าวภูเขาไฟบ้านโคกเมือง ตำบลจรเข้มาก อำเภอประโคนชัย เพื่อพัฒนาชุมชนรองรับภัยแล้งภายใต้การเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศของจังหวัดบุรีรัมย์ วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์. 6(2): 19-31.

Cochran. W. G. (1997). Sampling techniques. Hoboken, NJ: John Wiley & Sons, Inc.

Likert, R. (1967). A Technique for the Measurement of Attitude. Chicago: Rand me Nally Company.

Pradhan, B., B. (2020). A study on the impact of packaging and buying intention-a review of literature. International Journal of Scientific & Technology Research, 9(4), 1202-1204.

Translated Thai References

Atsawankun, C. (2007). Packaging design for success. 3rd ed Chiang Mai: WitInbook. (in Thai)

Chiawcha, G. (2014). Participatory development of a package to add value to commercial rice products : a case study of rice farmers in Tapon Yai, Tapon Sub-district, Khlung District, Chanthaburi Province. Master of Engineering Program in Engineering Management, Rambhai Barni Rajabhat University. (in Thai)

Darawong, C. (2015). Product management and new product development. Bangkok: Thana Press. (in Thai)

Dupandung, K. (2018). Packaging Design and Branding for Baan Dong Yen Bamboo Products. Research and Development Journal Suan Sunandha Rajabhat University. 10(1): 127-140. (in Thai)

Fuengarom, S. (2007). Packaging and Export. Bangkok: Chamchuri Products. (in Thai)

Jammek, J., et al. (2009). Food Science and Technology. 6th ed. Bangkok: Kasetsart University Press. (in Thai)

Jarupongsopon, W. (2014). Strategic Brand Management. Bangkok: Plan Printing. (in Thai)

Julukul, B. (2018). Branding and Packaging Development to Improve sales Promotion: The Case Study of the at Community Enteroprise Group, Ramdang sub - district, Singhanakorn district, Songkhla Ram Daeng Subdistrict, Singhanakhon District, Songkhla Province. National Academic Conference on Humanities and Social Sciences. The 1st “Wisdom Power for Sustainable Development”, 31-39. (in Thai)

Kaiyawan, Y. (2007). Principles of research and thesis writing. Bangkok: Bangkok Media Center. (in Thai)

Ketsripongsa, U., Parat, S.; & Butsalee, P. (2022). Product Development of Volcanic Rice Farmers in Ban Khok Mueang, Chorakhe Mak Subdistrict, Prakhon Chai District by using Community Development Mechanism to support Drought under Climate Change of BuriramProvince. Journal of Science and Technology Buriram Rajabhat University. 6(2): 19-31. (in Thai)

Khamfaeng, K. (2019). Local Wisdom Management Through Packaging Designed of Salted Eggsat Lamet, Chaiya, Suratthani Province. Master of Arts, Silpakorn University. (in Thai)

Rungruengpol, W. (2015). Principles of Marketing. 9thed. Pathum Thani: Marketing Move Publisher. (in Thai)

Soncha, R. President of Rotchana Farm Organic Agriculture Group. 24 November 2022. Interview. (in Thai)

Suntramethakul, A., Poramatworachote, P., Unchai, T.;& Makdee, W. (2021). Brand and Packaging Development of the Elderly Group at Kham Konta Community, SaiMunDistrict, Yasothon Province in order to increase Creative Economic Competence. Journal of Management and Development Ubonratchathani Rajabhat University. 8(1): 1-13. (in Thai)

Tammasakchai, K. (2017). The Brand mark and Package Design for Silk Product of Kumma–u Suanmon House Wife Group. Research Report. Nakornratchasima: Rajamangala University of Technology Isan. (in Thai)

Thanomvech, P., Me-intarakerd, I.; & Yamchutikirdmanee, P. (2022). Guidelines for developing brand and packaging to leverage Rotchana Farm Organic products, Srithep District, Petchabun Province. Research Report. Bangkok: Thonburi University. (in Thai)

Thongrungroj, S. (2012). Packaging Design. Bangkok: Rhetoric. (in Thai)

Tinnabut, P.; Suksawa, T.; & Somnuktan, A. (2016). Branding and packaging design development for connecting to cultural tourism of herbal spa and wellness products of community enterprise group of Chainat province. Art and Architecture Journal Naresuan University. 7(1), 84-94. (in Thai)