ความเต็มใจจ่ายในการศึกษาของบุตรในยุคดิจิทัล ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
Main Article Content
บทคัดย่อ
ผลกระทบการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่า 2019 และผลของการเปลี่ยนอย่างก้าวกระโดดของเทคโนโลยี เป็นตัวเร่งก่อให้เกิดการพลิกผันในทุกภาคส่วนจากผลมาตรการเว้นระยะห่างทางสังคมที่รัฐบาลไทยและในหลายประเทศใช้เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อไวรัสภาคการศึกษาเป็นภาคส่วนที่ได้รับผลกระทบโดยตรงต่อการปรับตัวของสถานศึกษา บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบถึงการเรียนรู้โดยใช้สื่อดิจิทัลของบุตรในยุคดิจิทัล และประเมินมูลค่าความเต็มใจจ่ายด้านการศึกษาของบุตรในยุคดิจิทัล จากสำรวจการเรียนรู้โดยใช้สื่อดิจิทัลด้วยแรงสนับสนุนของผู้ปกครอง สรุปได้ว่าการเรียนทั้งในรูปแบบการเรียนปกติ หรือพิเศษแบบออนไลน์มีความเหมาะสม ร้อยละ 83.65 สามารถปรับตัวได้ถ้าในอนาคตทุกอย่างจะต้องทำแบบ online ร้อยละ 89.42 และการเรียนออนไลน์ไม่เป็นภาระผู้ปกครองหรือไม่ทำให้สูญเสียรายได้ ร้อยละ 66.35 การประมาณมูลค่าความเต็มใจที่จ่ายค่าอินเทอร์เน็ตในการศึกษาของบุตรในยุคดิจิทัลเฉลี่ย 709.66 บาทต่อเดือน และค่าอุปกรณ์การเรียนรู้เฉลี่ย 25,741.08 บาท ทั้งนี้เพื่อเป็นประโยชน์ในการนำไปประยุกต์ใช้ควรมีการให้ความรู้เรื่องการใช้สื่อดิจิทัลทั้งทางลบและบวกเน้นพัฒนาการเรียนรู้และให้คำแนะนำกับบุตรเป็นสำคัญจะช่วยสร้างความเข้าใจและแรงจูงใจให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ปกครองและบุตร รวมถึงการใช้เทคโนโลยีให้สื่อกลางและปรับใช้ให้เหมาะสมกับวิถีชีวิตของคนในเมืองและชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นต่อไป
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ผลงานที่ปรากฎในวารสารฉบับนี้เป็นลิขสิทธิ์เฉพาะส่วนบุคคลของผู้เขียนซึ่งต้องรับผิดชอบต่อผลทาง กฎหมายที่อาจเกิดขึ้นได้และไม่มีผลต่อกองบรรณาธิการReferences
กัลยา วานิชยบัญชา. (2549). สถิติสำหรับงานวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
คมสัน สุริยะ.(2552). แบบจำลองโลจิค: ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ในการวิจัยทางเศรษฐศาสตร์. คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
เฉลิมชัย เลี้ยงสกุล. (2563). การศึกษาในยุค COVID-19. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยเสนาธิการทหาร.
พงศ์ทัศ วนิชานันท์. (2563). การศึกษาพื้นฐานในยุค โควิด-19: จะเปิด-ปิดโรงเรียนอย่างไร. สืบค้นเมื่อ 10 ตุลาคม 2564, จากhttps://tdri.or.th/2020/05/basic-education-in-covid-19-crisis-reopening-school-after-lockdown
ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์. (2563). ปิดโรงเรียนเปลี่ยนอนาคต:โลกการศึกษาหลังเผชิญไวรัส COVID-19. สืบค้นเมื่อ 10 ตุลาคม 2564, จาก https://www.the101.world/covid19-school-closure
ภูษิมา ภิญโญสินวัฒน์. (2563). จัดการเรียนการสอนอย่างไรในสถานการณ์โควิด-19: จากบทเรียน ต่างประเทศสู่การ จัดการเรียนรู้ของไทย. สืบค้นเมื่อ 10 ตุลาคม 2564, https://tdri.or.th/2020/05/examples-of-teaching-and- learning-in-covid-19-pandemic
สมเดช บุญประจักษ์. (2551). สถิติเพื่อการวิจัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์พิทักษ์การพิมพ์.
อุดมศักดิ์ ศีลประชาวงศ์. (2556). การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ของทรัพยากรสิ่งแวดล้อม=Economic valuation of environmental resources. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
Cahapay, M. B. (2020). Rethinking education in the new normal post-COVID-19 era: A curriculum studies perspective. Aquademia: 4(2). ep20018.
Intharawiset, T., Jareoan-sa, T., & Yuang-so̜i, P. (2021). Reflection on Thai Education after COVID 2019. Journal of Legal Entity Management and Local Innovation. 7(4): 323-333.
Langworthy, M.; & Neufeld, P. (2017). Fresno Unified, the Futures Challenge, and 21C Learning Design. Retrieved October 10, 2021, from https://edudownloads.azureedge.net/msdownloads/Fresno_ PLI_Analytics_Report_Year_1_2017.pdf
World Bank EdTech team. (2020). DIGITAL TECHNOLOGIES IN EDUCATION.UNDERSTANDING POVERTY Retrieved October 10, 2021, from https://www.worldbank.org/en/topic/edutech#1.
Yamane, T. (1967). Statistics: An introductory analysis (No. HA29 Y2 1967).
Translated Thai References
Boonprajak, S. (2008). Statistics for Research. Bangkok: Phithak Printing Press. (in Thai)
Leangsakul, C. (2020). Education in COVID-19 era. Bangkok: Joint War College (in Thai)
Pinyosinwat, P. (2020). How to organize teaching and learning in the situation of COVID-19: from foreign lessons to teaching Management of Thai education. Retrieved October 10 2021, from https://tdri.or.th/2020/ 05/examples-of-teaching-and- learning-in-covid-19-pandemic (in Thai)
Silprachawong, U. (2013). Economic valuation of environmental resources. Bangkok: The Thailand Research Fund. (in Thai)
Suriya, K. (2009). Logit Model: Theory and Applications of Economics. Faculty of Economics, Chiang Mai University. (in Thai)
Thanalerdsomboon, P. (2020). School closures change the future: The world of education after facing the COVID-19 situation. Retrieved October 10 2021, from https://www.the101.world/covid19-school-closure (in Thai)
Vanichanan, P. (2020). Compulsory education in Covid-19 era: how to open and close. Retrieved October 10 2021, from https://tdri.or.th/2020/05/basic-education-in-covid-19-crisis-reopening-school-after-lockdown/. (in Thai)
Vanichbuncha, K. (2006). Statistics for research. 2nded. Bangkok: Chulalongkorn University Printing House. (in Thai)