การเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับบุคคลทุกช่วงวัยในสังคมไทย

Main Article Content

สุมาลี สังข์ศรี
พัชราวลัย สังข์ศรี

บทคัดย่อ

สังคมโลกมีความเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทั้งด้านเศรฐกิจ สังคม การเมือง สภาพแวดล้อมตลอดจนความก้าวหน้าของวิทยาการและเทคโนโลยี สิ่งเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิต การประกอบอาชีพ และความเป็นอยู่ของประชาชนในทุกพื้นที่ ทุกภูมิภาคของโลก รวมทั้งประเทศไทย ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นนับวันจะมีความผันผวนและซับซ้อนมากยิ่งขึ้น ซึ่งประชาชนจำเป็นจะต้องปรับตัวและดำเนินชีวิตอยู่กับความเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ให้ได้อย่างเป็นปกติวิสัย  ปัจจัยสำคัญประการหนึ่งที่จะช่วยสร้างพลังให้ประชาชนมีความพร้อมและมีศักยภาพที่จะเผชิญและปรับตัวกับความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสมก็คือการศึกษาหรือการเรียนรู้และเป็นการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องในทุกช่วงของชีวิต ที่เรียกว่าการเรียนรู้ตลอดชีวิตการเรียนรู้ตลอดชีวิตอาจเกิดขึ้นทั้งในรูปแบบของการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย หากบุคคลในแต่ละช่วงวัยได้เรียนรู้ในสิ่งที่เกี่ยวข้องและเป็นประโยชน์ ก็จะช่วยให้บุคคลสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตได้อย่างเหมาะสม

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กระทรวงแรงงาน. (2562). ทิศทางการดำเนินงาน. สืบค้นเมื่อ 21 กันยายน 2562, จาก http://www.mol.go.th/anonymouse/ content/page/6733

พระเทพเวที (ประยุทธ์ ปยุตโต). (2532). หลักการศึกษาในพระพุทธศาสนา. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564). กรุงเทพฯ: สำนักฯ.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579. กรุงเทพฯ: สำนักฯ.

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2561). ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ.

สุนทร สุนันท์ชัย. (2551). ความรู้พื้นฐานการศึกษาตลอดชีวิต ในสาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เอกสารการสอนชุดวิชาการศึกษาตลอดชีวิตและการศึกษานอกระบบ หน่วยที่ 1. นนทบุรี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. พิมพ์ครั้งที่ 4. หน้า 1-48.

สุมาลี สังข์ศรี. (2544). การศึกษาตลอดชีวิตเพื่อสังคมไทยในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.

Department of Education, Australia. (2016). Employer Satisfaction Survey: National Report. Australia: Department of Education.

Hargreaves, D.H. (2004). Learning for life- The foundations for lifelong learning. Bristol: Policy Press.

Jarvis, P. (2008). Democracy, lifelong learning and the learning society. London: Routledge Retrieved Feb 8, 2021 from https://doi.org/10.4324/9780203001707

OECD (2021). The Survey of Adult Skills: Programme for the International Assessment of Adult Competencies (PIAAC). Retrieved from https://www.oecd.org/skills/piaac/about/#d.en.481111

United Nations, Department of Economic and Social Affairs. (2016).Sustainable Development Goals (SDGs). Retrieved from https://sustainabledevelopment.un.org/sdgs

World Economic Forum. (2020). These are the top 10 job skills of tomorrow – and how long it takes to learn them:Top 10 skills of 2025.Retrieved from https://www.weforum.org/agenda/2020/10/top-10-work-skills-of-tomorrow-how-long-it-takes-to-learn-them/

Translated Thai References

Ministry of Labour. (2019). Direction of Operation. Retrieved Sept 21,2019 from http://www.mol.go.th/anony mouse/content/page/6733 (in Thai)

Office of National Education Commission. (2002). National Education Act B.E.1999 and amendment (version 2) B.E.2002. Bangkok: Prikwangraphic Limited Company. (in Thai)

Office of the Education Council. (2017). National Education Plan B.E. 2018-2036. Bangkok: Office of the Education Council. (in Thai)

Office of the National Economics and Social Development Council. (2018). National Strategy B.E.2018-2037. Bangkok: Office of National Strategy Committee Secretariat. (in Thai)

Office of the National Economics and Social Development Council. (2017). The 12nd National Economic and Social Development Plan (B.E.2017-2021). Bangkok: Office of the National Economics and Social Development Council. (in Thai)

Prathepvaethee (Prayuth Payootto. (1989). Education principles in Buddhism. 3rded. Bangkok: Faculty of Education, Chulalongkorn University (in Thai)

Sumalee Sungsri. (2001). Lifelong Education for Thai Society in the 21st century. Bangkok: Office of National Education Commission (in Thai)

Sunthorn Sunanchai. (2008).”Basic knowledge in lifelong education.” In School of Educational Studies, Sukhothai Thammathirat Open University. Textbook of lifelong education and non-formal education. (chapter 1). Nonthaburi: STOU Printing House. 4thed. p.p.1-48. (in Thai)