การจัดการเรียนรู้เชิงรุก เพื่อพัฒนาการคิดขั้นสูง: การวิเคราะห์อภิมาน

ผู้แต่ง

  • นิติบดี ศุขเจริญ สำนักวิจัย มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
  • เปศล ชอบผล คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คำสำคัญ:

การเรียนรู้เชิงรุก, การคิดขั้นสูง, วิเคราะห์อภิมาน, ขนาดอิทธิพล

บทคัดย่อ

การวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อหาและเปรียบเทียบค่าขนาดอิทธิพลของการจัดการเรียนรู้เชิงรุก เพื่อพัฒนาการคิดขั้นสูง บทความที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้เชิงรุก ที่ส่งผลต่อการคิดขั้นสูง แบ่งเป็น 3 กลุ่มย่อย คือ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การคิดสร้างสรรค์ และการคิดวิเคราะห์ สืบค้นจากฐานข้อมูลศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (TCI) และผ่านการประเมินคุณภาพงานวิจัยที่ยึดหลักของประเภทของความเที่ยงตรง มีค่าเพียงพอต่อการคำนวณขนาดอิทธิพล คงเหลือกลุ่มตัวอย่าง 43 บทความ 45 ค่าขนาดอิทธิพล การคำนวณค่าขนาดอิทธิพลด้วยโปรแกรม Meta-Essentials พบว่า การกระจายตัวของค่าขนาดอิทธิพลสูง โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1.79 และค่าช่วง 95% ความเชื่อมั่น คือ 1.44 ถึง 2.14 นอกจากนี้เมื่อวิเคราะห์แยกตามกลุ่มย่อยประเภทของความคิด พบว่า การจัดการเรียนรู้เชิงรุกสามารถพัฒนาการคิดวิเคราะห์ การคิดอย่างมีวิจารญาณ และการคิดสร้างสรรค์ เรียงลำดับจากมากไปน้อยตามลำดับ มีค่าขนาดอิทธิพลเฉลี่ย คือ 2.57, 1.38 และ 1.13 ตามลำดับ โดยในแต่ละกลุ่มย่อยยังมีการกระจายตัวของค่าขนาดอิทธิพลที่สูง ทั้งนี้สามารถคัดเลือกวิธีของการจัดการเรียนรู้ เชิงรุก ที่มีสูงกว่าค่าขนาดอิทธิพลเฉลี่ย นำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนเฉพาะที่เน้นการคิดขั้นสูง

References

ฉัตฑริกา อภิชนังกูร, สิริสวัสช์ ทองก้านเหลือง และวัฒนา รัตนพรหม. (2563). การสังเคราะห์งานวิจัยที่เกี่ยวกับรูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ด้านการอ่านภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยวิธีการวิเคราะห์อภิมาน. วารสารวิชาการหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ฉบับออนไลน์. 12(35): 155-166.

ญาณี กลั่นภูมิศรี, อนุชา วัฒนาภา, เอกรัตน์ รวยรวย และ วิศิษฏ์ศรี วิยะรัตน์. (2560). การปรับเปลี่ยนห้องเรียนไปสู่ การเรียนรู้เชิงรุกโดยวิธีกระบวนการในรายวิชา ทางด้านวิศวกรรมอุตสาหการ. วารสารนวัตกรรมการเรียนรู้. 3(1): 3-28.

ณฐกร ดวงพระเกษ, ประพันธ์ศิริ สุเสารัจ, และลัดดาวัลย์ เกษมเนตร. (2560). รูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงรุกโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เพื่อส่งเสริมสมรรถนะนักศึกษาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย. วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์. 18(2): 209-224.

นิติบดี ศุขเจริญ, และวัยวุฑฒ์ อยู่ในศิล. (2557). การวิเคราะห์อภิมาน และการสังเคราะห์อภิมาน. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. 8(3): 43-55.

ปราณี พิพัฒน์สถิตกุล, อิทธิพัทธ์ สุวทันพรกูล และอรอุมา เจริญสุข. (10, พฤษภาคม, 2556). การสังเคราะห์งานวิจัยด้านนวัตกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ของนักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน : การวิเคราะห์อภิมาน [Symposium]. การประชุมหาดใหญ่วิชาการ ครั้งที่ 4, มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.

ปรียา สมพืช. (2559). การจัดการเรียนรู้เชิงรุกโดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนด้วยกรณีศึกษา. วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 11(2): 260-270.

พฤทธิวรรณ ช่วงพิทักษ์, ฐิยาพร กันตาธนวัฒน, และปริยาภรณ์ ตั้งคุณานันต์. (2560). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับทางร่วมกับการเรียนรู้เชิงรุกด้วยบทเรียน อีเลิร์นนิ่ง เรื่องการนําเสนอข้อค้นพบด้วยสื่อเทคโนโลยี ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม. 16(2): 89-96.

พิไลพร หวังทรัพย์ทวี, และอุทิศ บำรุงชีพ. (2561). ฉันทศึกษา : นวัตกรรมการออกแบบสภาพแวดล้อมการเรียนรู้เชิงรุกผ่านการเล่น อย่างสุขใจของเด็กไทยยุค 4.0. วารสารศึกษาศาสตร์. 29(3): 14-31.

สุรศักดิ์ เสาแก้ว. (2559). การอ่านและการแปลผลงานวิจัยการวิเคราะห์อภิมาน. เชียงรายเวชสาร. 8(1): 139-151.

อรุณ จิรวัฒน์กุล. (2556). การนำเสนอผลต่างของการสอนด้วยขนาดอิทธิพล. วารสารวิชาการสาธารณสุข, 22(6): 935-936.

Anderson, L. W., & Krathwohl, D. R. (2001). A taxonomy for learning, teaching, and assessing: A revision of Bloom's taxonomy of educational objectives. New York: Longman.

Apichnungkool, C., Thongkanluang, S. & Rattanaprom, W. (2020). A Meta-Synthesis of Research on English Instructional Models that affect Reading Achievement of Senior High School Students. Journal of Curriculum and Instruction, 12(35): 155-166.

Cattaneo, K. H. (2017). Telling Active Learning Pedagogies Apart: from theory to practice. Journal of New Approaches in Educational Research, 6(2): 144-152.

Farrington, D.P. (2003). Methodological Quality Standards for Evaluation Research. The ANNALS of the American Academy of Political and Social Science. 587: 49-68.

Gupta, T. & Mishra, L. (2021). Higher-Order Thinking Skills in Shaping the Future of Students. Psychology and Education. 58(2): 9305-9311.

Hak, T., Van Rhee, H. J., & Suurmond, R. (2016). How to interpret results of meta-analysis. (Version 1.3) Rotterdam, The Netherlands: Erasmus Rotterdam Institute of Management. www.erim.eur.nl/research-support/ meta-essentials/downloads

Havranek, T. & et al. (2020). Reporting guidelines for meta-analysis in economics. Journal of Economic Surveys. 34(3): 469-475.

Kusuma, M.D., Rosidin, U. & Suyatna, A. (2017). The Development of Higher Order Thinking Skill (Hots) Instrument Assessment in Physics Study. IOSR Journal of Research & Method in Education. 7(1):26-32.

Miterianifa, M., Ashadi, A., Saputro S. & Suciati, S. (2021). Higher Order Thinking Skills in the 21st Century: Critical Thinking. Conference: Proceedings of the 1st International Conference on Social Science, Humanities, Education and Society Development, ICONS 2020, 30 November, Tegal, Indonesia.

Nata, N., & Tungsirivat, K. (2017). Active Learning for Language Skills Development. Veridian E-Journal, Silpakorn University, International (Humanities, Social Sciences and Arts). 10(5): 506-515.

Pipatsathidkul , P., Suwathanpoornkul, I. & Charoensuk, O. (10, May, 2013). A Research Synthesis of Innovations for Developing Analytical Thinking Skills in Thai Subject of Basic Education Students : A Meta Analysis [Symposium]. The 4th of Hatyai National and International Conference. Hatyai University.

Songserm, U., & Tosola, C. (2017). Active Learning Instruction for higher order thinking skill development. Veridian E-Journal, Silpakorn University, International (Humanities, Social Sciences and Arts). 10(5): 594-600.

Suurmond, R., van Rhee, H., & Hak, T. (2017). Introduction, comparison and validation of Meta-Essentials: A free and simple tool for meta-analysis. Research Synthesis Methods. 8(4): 537-553.

Translated Thai References

Chirawatkul, A. (2013). Using Effect Size to Present the Different of Education Intervention. Journal of Health Science, 22(6): 935-936.

Chuangpitak, P., Kantathanawat, T., & Tungkunanan, P. (2017). Development of Flipped Classroom with Active Learning via E-Learning in Presenting Information Using Technology for High School. Journal of Industrial Education. 16(2): 89-96. (in Thai)

Duangprakes, N., Susoarat, P. & Kasemnet, L. (2017). Problem-Based Active Learning Model on Non-formal Education Students’ Academic Competence. Journal of Education. 18(2): 209-224. (in Thai)

Klanpoomsri, Y., Watanapa, A., Ruayruay, E., & Wiyarat, W. (2017). Changing Classroom to Active Learning by Facilitator Approach in Industrial Engineering Subject. Walailak Journal of Learning Innovations, 3(1): 5-28. (in Thai)

Saokaew, S. (2016). Understanding and Interpretation of Meta-Analysis Study. Chiangrai Medical Journal. 8(1): 139-151. (in Thai)

Sompuet, P. (2016). Organized Active Learning by Instructional Model with Case-Based. Phranakhon Rajabhat Research Journal (Humanities and Social Sciences). 11(2): 260-270. (in Thai)

Sukjaroen, N., & Yoonisil, W. (2014). Meta-Analysis and Meta-Synthesis. RMU.J.(Humanities and Social Sciences). 8(3): 43-55. (in Thai)

Wangsubthawee, P., & Bumrungcheep, U. (2018). Chanta Education: Innovation in Active Learning Environment Design Through Play to Happiness of Thai Child 4.0 Era. Journal of Education. 29(3): 14-31. (in Thai)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-14

How to Cite

ศุขเจริญ น., & ชอบผล เ. . (2021). การจัดการเรียนรู้เชิงรุก เพื่อพัฒนาการคิดขั้นสูง: การวิเคราะห์อภิมาน. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยธนบุรี, 16(1), 79–92. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/trujournal/article/view/255195