โมเดลสมการโครงสร้างปัจจัยเชิงสาเหตุของความพร้อมในการทำงานจากที่บ้านมีอิทธิพลต่อผลิตภาพในการทำงานและความพึงพอใจในงานของพนักงานไอทีในเขตกรุงเทพมหานคร

ผู้แต่ง

  • สรวงอัยย์ อนันทวิจักษณ์ คณะบริหารธุรกิจและอุตสาหกรรมบริการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
  • ไพโรจน์ พิภพเอกสิทธิ์ คณะบริหารธุรกิจและอุตสาหกรรมบริการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
  • อดิลักษณ์ พุ่มอิ่ม คณะบริหารธุรกิจและอุตสาหกรรมบริการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

คำสำคัญ:

ผลิตภาพในการทำงาน, ความพร้อมในการทำงานจากที่บ้าน, ความพึงพอใจในงานของพนักงาน, พนักงานไอที

บทคัดย่อ

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบความสอดคล้องและพัฒนาโมเดลสมการโครงสร้างปัจจัยเชิงสาเหตุของความพร้อมในการทำงานจากที่บ้านมีอิทธิผลต่อผลิตภาพในการทำงานและความพึงพอใจในงานของพนักงานไอทีในเขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างเป็นพนักงานด้านไอทีที่รับนโยบายการทำงานจากที่บ้านในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 208 คน เครื่องมือที่ใช้วัดเป็นแบบสอบถามประมาณค่า 5 ระดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสมการโครงสร้าง (Structural Equation Modeling: SEM) ผลการวิจัยพบว่าโมเดลสมการโครงสร้างมีความสอดคล้องกับวรรณกรรมและข้อมูลเชิงประจักษ์โดยมี
ค่าไคสแควร์ =73.960 ค่าองศาอิสระ (df) = 62, p-value =0.123, GFI = 0.951, AGFI=0.926, CFI = 0.964, TLI = 0.955, RMR = 0.029, and RMSEA = 0.032 ซึ่งผ่านตามเกณฑ์ที่กำหนด สำหรับผลการวิเคราะห์ตัวแปรภายในโมเดลที่ได้พัฒนาขึ้นมาใหม่ เมื่อพิจารณาอิทธิพลของโมเดลพบว่าตรงกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ สามารถพยากรณ์ความพึงพอใจในงานได้ร้อยละ 20.3

References

สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2551). เทคนิคการวิเคราะห์ตัวแปรหลายตัวสำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัดสามลดา.

เสาวรัจ รัตนคำฟู และเมธาวี รัชตวิจิน. (2563). TDRI ’s research-based approach. สืบค้นเมื่อ 25 เมษายน 2564, from https://tdri.or.th/2020/05/impact-of-working-from-home-covid-19/

Bloom, N., Liang, J., Roberts, J., & Ying, Z. J. (2015). Does working from home work? Evidence from a Chinese experiment. The Quarterly Journal of Economics, 130(1), 165-218.

Buffer.com. (2019). State Of Remote Work. Retrieved May 17, 2021, from https://buffer.com/ state-of-remote-work-2019

Diamantopoulos, A., Siguaw, J. A., & Siguaw, J. A. (2000). Introducing LISREL: A guide for the uninitiated. Sage.

Gallup Organization. (2017). Gallup’s research-based approach. Retrieved May 17, 2021, from https://news.gallup.com/poll/214961/gallup-employee-engagement.aspx

Hair Jr., J.F., Black, W.C., Babin, B.J. and Anderson, R.E. (2010) Multivariate Data Analysis: A Global Perspective. 7thed. Pearson Education: Upper Saddle River.

Heitmann, B. (2020). Six Tips for Working Remotely. Linkedin Official Blog, march/13. Retrieved May 16, 2564, from https://blog.linkedin.com/2020/march/13/six-tips-for-working-remotely

Hox, J. J. (2010). Multilevel analysis: Techniques and application. n.p.

Kelloway, E. K. (2014). Using Mplus for structural equation modeling: A researcher's guide. Sage.

Kline, R. B. (2010). Principles and practice of structural equation modeling. 3rded. New York, NY: Guilford Press.

Ramos, P. J., & Prasetyo, T. Y. (2020, September). The Impact of Work-Home Arrangement on the Productivity of Employees during COVID-19 Pandemic in the Philippines: A Structural Equation Modelling Approach. In 2020 The 6th International Conference on Industrial and Business Engineerin. (pp. 135-140).

Rose, K.H. (1995). “A performance measurement model'', Quality Progress, February, pp. 63-6.

Schumacker, R. E., & Lomax, R. G. (2010). A beginner’s guide to structural equation modeling 3rded. New Jersey: Lawrence Erlbaum Associates.

Susilo, D. (2020). Revealing the Effect of Work-From-Home on Job Performance during the Covid-19 Crisis: Empirical Evidence from Indonesia. Journal of Contemporary Issues in Business and Government. 26(1): 23-40.

Toscano, F., & Zappalà, S. (2020). Social Isolation and Stress as Predictors of Productivity Perception and Remote Work Satisfaction during the COVID-19 Pandemic: The Role of Concern about the Virus in a Moderated Double Mediation. Sustainability. 12(23): 9804.

UK Government’s Department for Business Innovation & Skills. Retrieved June 30, 2014, from https://www.gov.uk/government/news/flexible-working-rights-extended-to-more-than-20-million

Translated Thai References

Prasith-rathsint, S. (2008). Multivariate Techniques for Social and Behavioral Sciences Research, (Handbook for Researchers and Graduate Students), Principles, Methods and Applications. (in Thai)

Rattanakhamfu, S. & Bintvihok, M. (2020). TDRI ’s research-based approach. Retrieved April 25, 2020, from https://tdri.or.th/2020/05/impact-of-working-from-home-covid-19/ (in Thai)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-14

How to Cite

อนันทวิจักษณ์ ส., พิภพเอกสิทธิ์ ไ. ., & พุ่มอิ่ม อ. . (2021). โมเดลสมการโครงสร้างปัจจัยเชิงสาเหตุของความพร้อมในการทำงานจากที่บ้านมีอิทธิพลต่อผลิตภาพในการทำงานและความพึงพอใจในงานของพนักงานไอทีในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยธนบุรี, 16(1), 68–78. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/trujournal/article/view/252547