แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเมืองมรดกโลก และเมืองสร้างสรรค์โลก โดยชุมชนเมืองเก่าสุโขทัย สำหรับฐานวิถีชีวิตใหม่หลังสถานการณ์โควิด 19

Main Article Content

เฉลิมพล ศรีทอง
ธีรพงษ์ เที่ยงสมพงษ์

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาศักยภาพและออกแบบแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเมืองมรดกโลก และเมืองสร้างสรรค์โลก โดยชุมชนเมืองเก่าสุโขทัย สำหรับฐานวิถีชีวิตใหม่หลังสถานการณ์โควิด 19 เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน โดยวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลทั้งแบบปฐมภูมิ และทุติยภูมิ มีการสัมภาษณ์เชิงลึก เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงและลูกโซ่ สัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง และการสังเกตแบบมีส่วนร่วม จำนวน 18 คน และวิจัยเชิงปริมาณ ใช้เครื่องมือเป็นแบบสอบถาม สุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ จำนวน 400 คน วิเคราะห์ข้อมูลจากสถิติเชิงพรรณา ได้แก่ ค่าร้อยละ และค่าเฉลี่ย จากนั้นสำรวจศักยภาพการท่องเที่ยวภายในชุมชน ดำเนินการประชุมกลุ่มย่อย และตรวจสอบสามเส้าด้านข้อมูล จากผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนด้านการท่องเที่ยว และผู้นำชุมชน จากนั้นจึงสรุปแนวทางพัฒนาดังนี้
1) ปรับปรุงโปรแกรมการท่องเที่ยวให้สอดคล้องกับพฤติกรรมและความสนใจพิเศษ 2) มีการสื่อสารการตลาดที่สอดคล้องกับความต้องการของนักท่องเที่ยวอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ 3) มีศูนย์บริการนักท่องเที่ยว จุดเช็คอินเพื่ออำนวยความสะดวกและชี้แจงก่อนนำสู่กิจกรรม 4) พัฒนาทักษะ เตรียมความพร้อมให้กับบุคลากร และผู้ประกอบการภายในชุมชนเพื่อรองรับนักท่องเที่ยว ทั้งมาตรฐานการบริการ ภาษา และการบริหารจัดการ 5) สร้างอัตลักษณ์ของสินค้าและผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวชุมชนที่สื่อให้เห็นถึงเมืองเก่าสุโขทัย และ 6) ปรับปรุงป้ายสื่อความหมายภายในแหล่งท่องเที่ยว

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรมการท่องเที่ยว. (2562). สถิตินักท่องเที่ยว. สืบค้นเมื่อ 14 มีนาคม 2562, จาก https://www.mots.go.th/Emphandhu

กรุงเทพธุรกิจ. (2562). รวม 5 แหล่งมรดกโลกในไทยที่ควรค่าแก่การอนุรักษ์. สืบค้นเมื่อ 14 มีนาคม 2562, จาก http://www.bangkokbiznews.com/recommended/d

กัลยา วานิชย์บัญชา. (2549) สถิติสำหรับงานวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ฐานเศรษฐกิจ. (2563). “สุโขทัย”คว้าเครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ยูเนสโก้. สืบค้นเมื่อ 30 มิถุนายน 2563, จาก https://www. thansettakij.com/content/strategy/418131

ดรรชนี เอมพันธุ์. (2550). การพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชนและการจัดกิจกรรมโฮมสเตย์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์.

เทิดชาย ช่วยบำรุง. (2552). บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนบนฐานแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา.

ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2563). ผลกระทบวิกฤต COVID-19 กับเศรษฐกิจโลก: This Time is Different. สืบค้นเมื่อ 29 มิถุนายน 2563, จาก https://www.bot.or.th/Thai/ResearchAndPublications/articles/-Pages/Article_ 18Mar 2020.aspx

บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. (2548). การวางแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน. เชียงใหม่: คณะมนุษยศาสตร์ สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

พจนา สวนศรีและสมภพ ยี่จอหอ. (2556). คู่มือมาตรฐานการท่องเที่ยวโดยชุมชน. เชียงใหม่: วนิดาการพิมพ์.

วรรณวิมล ภู่นาค. (2558). ศักยภาพชุมชนในการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน: กรณีศึกษาตลาดน้ำอัมพวา. วารสารวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. 26(1): 72.

ศิริเพ็ญ ดาบเพชร. (2561). องค์ประกอบการท่องเที่ยวและช่องทางการสื่อสารภาพลักษณ์การท่องเที่ยวสำหรับกลุ่มนักท่องเที่ยวอนาคต กรณีศึกษาจังหวัดพิษณุโลก. วารสารการวิจัยเพื่อพัฒนาชุมชน (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์). 11(1): 79-98.

ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2563). COVID-19 ฉุดการท่องเที่ยวโลกหยุดชะงัก คาด…ทั้งปีหดตัว 38-45%. สืบค้นเมื่อ 29 มิถุนายน 2563, จาก https://kasikornresearch.com/th/analysis/k-social-media/Pages/COVID-19-World-Tourism.aspx

Becker, G. S. (1962). Investment in human capital: A theoretical analysis. Journal of political economy, 70 (5, Part 2): 9-49.

Dickman, S. (1996). Tourism: An Introductory Text. (2nd ed). Sydney: Hodder Education.

Dwyer, L., & Kim, C. (2003). Destination competitiveness: Determinants and indicators. Current Issues in Tourism, 6(5): 369-414.

Loureiro, S. M. C., & Gonzalex, F. J. M. (2008). The importance of quality, satisfaction, trust, and image in relation to rural tourism loyalty. Journal of Travel & Tourism Marketing. 25(2): 117-136.

Marcouiller, D. W. (1998). Environment resources as latent primary factors of production in tourism: the case of forest-based commercial recreation. Tourism Economics, 4(2): 131-145.

Schofield, P. (2002). Developing a day trip expectation/satisfaction construct: a comparative analysis of scale construction techniques. Journal of Travel & Tourism Marketing. 8(3): 101-109.

Shimp, T.A. (2000). Advertising, promotion, and supplemental aspects of integrated marketing communication. 5th ed., Fort Worth, TX: Dryden Pres.

Xiang, Z., & Gretzel, U. (2010). Role of social media in online travel information search. Tourism Management, 31(2):179-188.

Yoon, Y., & Uysal, M. (2005). An examination of the effects of motivation and satisfaction on destination loyalty: a structural model. Tourism management, 26(1): 45-56.

Yoo, K. H., Lee, K. S., & Gretzel, U. (2007), The role of Sourch Characteristics in Ewom: What makes Online Travel Reviewers Credible and Likeable?, In Information and Communication Technologies in Tourism 2007, edited by M. Sigala, L. Mich, J. Murphy and A. Frew. Edinburgh: Axon Imprint: 23-34.

Translated Thai References

Bangkokbiznews. (2019). A collection of 5 world heritage sites in Thailand that are worth conservation. Retrieved March 14, 2019, from http://www.bangkokbiznews.com/recommended/d. (in Thai)

Bank of Thailand. (2020). The impact of the COVID-19 crisis on the global economy: This Time is Different. Retrieved June 29, 2020, from https://www.bot.or.th/Thai/ResearchAndPublications-/articles/Pages/ Article_18Mar2020.aspx. (in Thai)

Choibamroong, Therdchai. (2009). The role of local government organizations and sustainable tourism development based on the sufficiency economy concept. Bangkok: Cabinet and Royal Gazette Publishing Office. (in Thai)

Dabphet, Siripen . (2018). Tourism Attributes and Communication Channels of Tourism Image for Future Tourists: The Case of Phitsanulok. Journal of Community Development Research (Humanities and Social Sciences). 11(1): 79-98. (in Thai)

Dachanee. (2007). Community–Based Tourism development and homestay activities. Bangkok: Kasetsart University Press. (in Thai)

Department of Tourism. (2019). Tourists’Statistics. Retrieved March 14, 2019, from https://www.mots.go.th (in Thai)

Jittungwattana, Boonlert. (2005). Sustainable Tourism Development Planning. Chiang Mai. Faculty of Humanities, Chiang Mai University Press. (in Thai).

Kasikornthai Research Center. (2563). COVID-19 Traces the World Tourism Disruption Expected contract year by 38-45%. Retrieved June 29, 2020, from https://kasikornresearch.com/th/-analysis/k-social-media/ Pages/COVID-19-World-Tourism.aspx (in Thai)

Poonak, Wanwimol. (2015). The Potentials of Amphawa Community in Managing Community-Based Tourism of the Amphawa Floating Market. Academic Service Journal Prince of Songkha University. 26(1): 72. (in Thai)

Suansri, Potjana., & Yeejawhaw, Somphop. (2013). Community standard tourism guide. Chiangmai: Wanida Printing. (in Thai)

Thansettakij. (2563). "Sukhothai" seized the network of creative cities UNESCO. Retrieved June 30, 2020, from https://www.thansettakij.com/content/strategy/418131 (in Thai)

Vanichbuncha, Kanlaya. (2006). Statistical Analysis for Research. 2th ed. Bangkok: Chulalongkorn University Printing Hourse. (in Thai)