ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกสถาบันอุดมศึกษาให้กับบุตรหลาน ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน

ผู้แต่ง

  • นีรนาท เสนาจันทร์ มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
  • ภัทรภร กินิพันธ์ มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
  • นงนุช ไชยผาสุข มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
  • สัมฤทธิ์ ศิริคะเณรัตน์ มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
  • ดากาญ์นดา อรัญมาลา มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
  • มาลีรัตน์ สาผิว มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

คำสำคัญ:

ภาพลักษณ์มหาวิทยาลัยเอกชน, การตัดสินใจเรียนมหาวิทยาลัยเอกชน, ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อสำรวจสภาพปัจจุบันของปัจจัยภูมิหลัง  ช่องทางการรับข้อมูลข่าวสาร ของผู้ปกครอง ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน   2)  เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกสถาบันอุดมศึกษาให้กับบุตรหลาน ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันในการทดสอบสมมติฐานและพัฒนาองค์ประกอบที่มีนัยสำคัญ ผลวิจัยพบว่า 1) สภาพปัจจุบันของปัจจัยภูมิหลังของผู้ปกครอง พบว่า ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีช่องทางการรับข้อมูลข่าวสารจากมหาวิทยาลัยผ่านทางเว็บไซต์  ส่วนใหญ่ไม่รู้จักตราสัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัย  ผู้ปกครองส่วนใหญ่ให้ความสำคัญในการเลือกเรียนมหาวิทยาลัยเอกชนในเรื่องหลักสูตรที่เปิดสอน  2)  ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกสถาบันอุดมศึกษาให้กับบุตรหลาน

ผลการวิจัยพบว่ามีปัจจัยที่สำคัญมีจำนวน 5 ปัจจัย ปัจจัยทั้ง 5 มีค่าเป็นบวก ได้แก่ 1) ด้านสถานที่ อุปกรณ์ และสิ่งอำนวยความสะดวก  (Factor loading = .889) โดยสามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 79  2) ด้านคุณภาพของนักศึกษาและบัณฑิต (Factor loading = .861) 3) โดยสามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 74.1  ด้านนวตกรรมหลักสูตร (Factor loading = .806) โดยสามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 64.9  4) ด้านอาจารย์ผู้สอน (Factor loading = .796) และ โดยสามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 63.3 และ 5) ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม (Factor loading = .789) โดยสามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 62.3 และผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันที่ได้พัฒนาขึ้น มีความกลมกลืนของโมเดลองค์ประกอบกับข้อมูลเชิงประจักษ์ คือ ค่า chi-square = 259.662 P-value = .067 CMIN/DF = 1.144  RMSEA = .019  RMR = .091 CFI = .998  GFI = .953 และ AGFI = .933

References

กฤษณ์ บุตรเนียน, จุไร โชคประสิทธิ์; และ อรสา จรูญธรรม. (2554). ปัจจัยในการเลือกเข้าศึกษาในโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชน. วิทยานิพนธ์ ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์.
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2557). ข้อเสนอทฤษฎีใหม่ทิศทางการตลาดในทศวรรษหน้า. สืบค้นวันที่ 6 ธันวาคม 2560, จาก http://www.bangkokbiznews.com/
จิตติมา พัดโบก. (2555). การศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี ในมหาวิทยาลัยนเรศวรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในเขตจังหวัดพิษณุโลก.
จุฑามาศ สามดี. (2553). ความต้องการของผู้ปกครองในการจัดการศึกษาปฐมวัยของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาจันทบุรี เขต 2 (วิทยานิพนธ์ สาขาการบริการการศึกษา). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์; และคณะ. (2560). องค์ประกอบของกระบวนการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา : กรณีศึกษามหาวิทยาลัยเอกชนในเขตกรุงเทพและปริมณฑล. การประชุมวิชาการระดับชาติ “วิทยาการจัดการวิชาการ 2015: วิจัยเพื่อสร้างสรรค์เศรษฐกิจชุมขนสู่ประชาคมอาเซียน.”
ดลฤดี สุวรรณศรี. (2550). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 6 ทั่วประเทศ. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาสังคมวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ธันยากร ช่วยทุกข์เพื่อน. (2558). การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกเรียนใน ระดับอุดมศึกษาที่ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี. สุทธิปริทัศน์. 29(90): 259.
นุชนารถ อินทโรจน์; และคณะ. (2553). ภาพลกัษณ์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีในทัศนะประชาชนจังหวัด. ปทุมธานี: สํานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
ปวิณ พงษ์โอภาส, และคณะ. (2555). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อมหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรีของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี. วารสารการจัดการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง. 5(1).
พรทิพย์ วรกิจโภคาทร. (2545). การวิจัยเพื่อการประชาสัมพันธ์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
พลกฤษณ์ ไพรสานฑ์วณิชกุล. (2552). ภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตชลบุรีตามการรับรู้ของผู้บริหารสถานประกอบการ. สืบค้นเมื่อ 25 พฤษภาคม 2560, จาก http://www.east.spu.ac.th/journal/booksearch/ upload/251-P12-20_pholkris.pdf.
ศศิวิมล แสนเมือง. (2554). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตังใจเลือกมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีของนักเรียนที่มีผลการเรียนดีในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง. สืบค้นเมื่อ 25 พฤษภาคม 2560, จาก http://sutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/12345 6789/4379/2/fulltext.pdf.
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา. (2557). กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ. สืบค้นเมื่อ 12 พฤศจิกายน 2560. จาก http://www.mua.go.th/users/tqf-hed/
เสาวภา เมืองแก่น; และคณะ. (2561, พฤษภาคม-สิงหาคม). องค์ประกอบของการจัดการองค์การแห่งความเป็นเลิศของมหาวิทยาลัยเอกชนไทย. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยธนบุรี. 12(28): 328-341.
อภิชัจ พุกสวัสดิ์. (2556). การประชาสัมพันธ์เพื่อการสร้างภาพลักษณ์. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อัปสร บุบผา. (2555). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อในคณะเศรษฐศาสตร์. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สืบค้นเมื่อ 12 มกราคม 2561, จาก http://library.cmu.ac.th/faculty/econ
Holloway, S, D,. Yamamoto, Y., Suzuki, s., & Mindnich, J.D. (2008). Determinants of Parental Involvement in Early Schooling: Evidence from Japan, Early Childhood Research & Practice, 10(1): 1-10.
Yusof, J. M., Musa, R., & Putit, L. (2012). Applying importance-Performance Analysis (IPA) on University Image Attributes, GSTF Business Review, 2(1): 111–116.

Translated Thai References
Bubpha, A. (2012). Factors influencing the decision to study in the Faculty of Economics in Chiangmai University. Retrieved 12 January 2018, from http://library.cmu.ac.th/faculty/econ (in Thai)
Bunnian K., Chokprasit C., and Charoontham A. (2011). The factors in Choosing to study in Private Vocational Schools. Thesis Master of Education, Graduate school, Valaya Alongkorn Rajabhat University. (in Thai)
Charoenwongsak, K. (2013). The Proposed for the New Direction of the Market in the Next Decade. Retrieved on December 6 2017, from http://www.bangkokbiznews.com/.(in Thai)
Chuaytukpuen, T. (2015). The Study of Factors Affecting to the Decision to study in the Higher Education at Durakij Pandit University of undergraduate students. Sutthiparithat. 29(90): 259. (in Thai)
Intharot N. et al. (2010). The Rajamangala University of Technology in the view of people in Pathum Thani province. The office of the president, Rajamangala University of Technology. Thanyaburi. (in Thai)
Muangkaen, S. et al. (2018). High performance on organizational management of private universities in thailand. Journal of Thonburi University. 12(28): 328-341. (in Thai)
Patbok, C. (2013). A Study of Factors influencing the Decision to Study a Bachelor's degree in Naresuan University of Mattayomsuksa 6 students in Phitsanulok province. (in Thai)
Phaisanwanitchakul, P. (2009). The image of Sripathum University Chonburi campus base on the Perception of the Enterprise. Retrieved 25 May 2017 from http://www.east.spu.ac.th/journal/booksearch/ upload/251-P12-20_pholkris.pdf. (in Thai)
Pongopas, P. (2012). Factor Affecting High School Student’s Decision on Study at Thepsatri Rajabhat University, Mueng Disdrtict, Lopburi Province. Management Journal Faculty of Management Science Lampang Rajabhat University. 2012. (in Thai)
Puksawat, A. (2013). Public relations for the image. Bangkok: Chulalongkorn University. (in Thai)
Samdee, J. (2010). The Needs of Parents in early Childhood Education of School Administrators. Chanthaburi Educational Service area 2 (thesis of educational services). Chonburi: Burapha University. (in Thai)
Sanmuang, S. (2011). The Factors affecting intention to select Suranaree University of Technology students with good academic performance in lower northeast. Retrieved 25 May 2017 from http://sutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/ 4379/2/fulltext.pdf (in Thai)
Suwannasri, D. (2007). Factors affecting the Decision to study in the Higher Education of secondary school of Mattayomsuksa 6 students across the country. Master's thesis. Faculty of Social Sciences, Srinakharinwirot University (Prasarnmit). (in Thai)
The Commission on higher education. (2014). The National Qualifications Framework of higher education. Retrieved 12 November 2017, from http://www.mua.go.th/users/tqf-hed/ (in Thai)
Worakitpokatorn, P. (2002). Research for Public Relations. Bangkok: Thammasat University. (in Thai)
Worapongpat, N; et al. (2017). The Composition of the Decision-making process to Study in Higher Education: A Case Study of Private Universities in Bangkok and surrounding areas. The National Conference " Management science academic 2015: Research to create an economic community to the ASEAN community." (in Thai)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-05-01

How to Cite

เสนาจันทร์ น., กินิพันธ์ ภ., ไชยผาสุข น., ศิริคะเณรัตน์ ส., อรัญมาลา ด., & สาผิว ม. (2019). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกสถาบันอุดมศึกษาให้กับบุตรหลาน ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยธนบุรี, 13(2), 92–102. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/trujournal/article/view/192703