ตัวแบบการจัดการการพัฒนาสมรรถนะของผู้ทำบัญชีที่มีประสิทธิภาพในสำนักงานบัญชีคุณภาพในประเทศไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึง องค์ประกอบสมรรถนะของผู้ทำบัญชีที่จำเป็นต่อการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และนโยบายไทยแลนด์ 4.0 และศึกษาถึงปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาสมรรถนะดังกล่าว ทั้งนี้เพื่อให้ได้ตัวแบบการจัดการการพัฒนาสมรรถนะของผู้ทำบัญชีที่มีประสิทธิภาพในสำนักงานบัญชีคุณภาพในประเทศไทย การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถาม ประชากร คือ ผู้ทำบัญชีในสำนักงานบัญชีคุณภาพ โดยมีกลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 ราย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วยสถิติเชิงพรรณนา และสถิติอ้างอิง คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การแจกแจงแบบที การวิเคราะห์สมการโครงสร้าง ตัวแบบการจัดการการพัฒนาสมรรถนะของผู้ทำบัญชีที่มีประสิทธิภาพในสำนักงานบัญชีคุณภาพในประเทศไทย ตัวแปรที่ศึกษาได้แก่ 1) การบริหารทรัพยากรมนุษย์ 2)การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 3) ภาวะผู้นำ 4) การจัดการความรู้ โดยมีตัวแปรด้านสมรรถนะที่จำเป็นต้องมีของผู้ทำบัญชี 3 ด้านคือ 1) ด้านความรู้ 2) ด้านทักษะทางวิชาชีพ และ 3) ด้านลักษณะส่วนบุคคล ผลการศึกษาพบว่า ตัวแบบการพัฒนาสมรรถนะที่มีประสิทธิภาพโดย ตัวแบบความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงเส้นของข้อมูลเชิงประจักษ์กลมกลืนระดับดี โดย ปัจจัยด้าน การบริหารทรัพยากรมนุษย์ มีค่าน้ำหนักที่ส่งผลต่อการพัฒนาสมรรถนะมากที่สุด รองลงมาคือ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และภาวะผู้นำ ส่วนการจัดการความรู้ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ
Article Details
References
กานดาวรรณ แก้วผาบ. (2555). การเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนของนักศึกษาสาขาวิชาชีพบัญชีมหาวิทยาลัยกรุงเทพ. สืบค้นเมื่อ 16 กันยายน 2559, จาก http://proceedings.bu.ac.th/index.php?start=40.
ณรงค์วิทย์ แสนทอง. (2547). มารู้จัก Competency กันเถอะ. กรุงเทพฯ: เอช อาร์เซ็นเตอร์.
ดิลก ถือกล้า. (2554). บทบาทของนักบริหารทรัพยากรมนุษย์กับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. สืบค้นเมื่อ 2 มิถุนายน 2560, จาก http://nakhonnayok.go.th/ppisnayok/km25.pdf
บรรจงจิตต์ อังศุสิงห์. (2557). ความคืบหน้าของ AEC ด้านการบริการสาขาบริการวิชาชีพบัญชี. การสัมมนาหัวข้อ ความก้าวหน้าของการเจรจาการค้าบริการสาขาวิชาชีพบัญชีภายใต้กรอบประชาคมอาเซียนในปี 2558 วันที่ 21 ตุลาคม 2554. สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์.
บุญชม ศรีสะอาด. (2552). การพัฒนาการวิจัยโดยใช้รูปแบบ. สืบค้นเมื่อ 23 กันยายน 2559, จาก http://www.watpon.com/ boonchom/development.pdf
ประสัณห์ เชื้อพาณิชย์. (2559). นักบัญชีต้องปรับตัวพร้อมรับ AEC: การประชุมนักบัญชีทั่วประเทศครั้งที่ 19. สืบค้นเมื่อ 21 มิถุนายน 2560, จาก http://www.fap.or.th/Article/Detail/67688
พลพธู ปิยวรรณ; และ สุภาพร เชิงเอี่ยม. (2558). ระบบสารสนเทศทางการบัญชี. กรุงเทพ: วิทยาพัฒน์.
มยุรี เกื้อสกุล; และ วุฒิ วัชโรดมประเสริฐ. (2558, กันยายน-ธันวาคม). คุณสมบัติของนักบัญชีในสถานประกอบการตามมาตรฐานการ ศึกษาระหว่างประเทศสำหรับผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีที่ผู้บริหารที่เกี่ยวข้องกับงานบัญชีและนักบัญชี ในสถานประกอบการต้องการ กรณีศึกษา: สถานประกอบการนิคมอุตสาหกรรมสมุทรสาคร. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยธนบุรี. 9(20): 49-58.
มัทนชัย สุทธิพันธุ์. (2557). ความพร้อมและปัจจัยที่ส่งผลต่อความพร้อมของผู้จัดทำบัญชีไทยกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. สืบค้นเมื่อ 10 กรกฎาคม 2560, จาก https://www.tci-thaijo.org/index.php/CBSReview/article/view/16422
ศิระ อินทรกำธรชัย. (2560). PwC เผยมาตรฐานบัญชีฉบับใหม่-ความก้าวหน้าทางดิจิทัลกระทบธุรกิจไทย แนะเตรียมรับมือ ให้พร้อม. สืบค้นเมื่อ 16 มิถุนายน 2560, จาก https://positioningmag.com/1109467
สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์. ฝ่ายต่างประเทศ. (2557). การเตรียมรับปี 2015 ของนักบัญชี (ตอนที่ 2) ความพร้อม สำหรับนักวิชาชีพบัญชี. สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2560, จาก http://www.fap.or.th/images/column_1370856210 /FAP%20 News%20No%209_5.pdf.
สันติ วิลาสศักดานนท์. (2558). ทักทายเปิดเล่ม FAP Newsletter NO. 36, หน้า 3. สืบค้นเมื่อ 21 พฤษภาคม 2560, จาก http://www.fap.or.th/images/column_1449228158/FAP_News36_All.pdf
อมรา ติระศรีวัฒน์. (2559). ความพร้อมในการแข่งขันของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีไทย้ภายในกลุ่มประเทศสมาชิกของอาเซียนภายใต้ข้อตกลงการยอมรับร่วมบริการวิชาชีพบัญชี. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์. สืบค้นเมื่อ 11 มิถุนายน 2560, จาก http://www.fap.or.th/upload/9414/FxyE3wZKxN.pdf
อาภรณ์ ภู่วิทยพันธุ์. (2548). Competency Dictionary. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: พิมพ์ดี.
Boyatzis, R. E. (1996). The Competent Manager: A Theory of Effective Performance. NewYork: John Wiley & Sons
Burns, J.M. (1978). Leadership. New York: Harper and Row.
Hair; et.al. (2006). Multivariate Data Analysis. 6thed. Prentice Hall.
McClelland, D.C. (1973). Testing for Competence rather than for Intelligence. New Jersey: American Psychologist
Nadler. (1980). Corporate Human Resource Development. NewYork: Van.Nostrand Reinhold Company.
Schumacher, R. E., & Lomax, R. G. (2010). A Beginners Guide to Structural Equation Modeling: SEM. New Jersey: Lawrence Erlbaum Associates.
Spencer, L.M.; & Spencer, S.M. (1993). Competence at work: Models for Superior Performance. New York: John Wiley & Sons.
Translated Thai References
Angsusingh, B. (2011). Progress of AEC in Accounting Services Progress. Seminar Of trade negotiations under the ASEAN Framework Agreement on Trade in Services in 2015 Octerber, 21 2011 Federation Accounting Professions.
(in Thai)
Cheoepanich, P. (2016). Accountants need to adjust for AEC: The 19th National Accountants' Conference. 21 June, 2017, from http://www.fap.or.th/Article/Detail/67688 (in Thai)
Federation Accounting Professions International Affair. (2014). Prepare for the accountant's year 2015 (Part 2). 20 June, 2017, from http://www.fap.or.th/images/column_1370856210/FAP%20News%20No%209_5.pdf
(in Thai)
Inthrakumthornchai, S. (2017). PwC reveals new accounting standards - digital advances impact Thai businesses Prepare to handle. 16 June, 2017, from https://positioningmag.com/1109467 (in Thai)
Keasakul, M., Watcharodom, W. (2015, September-December). The Qualifications of Accountants staffs in List of International Accounting Education Standard (IES) Preferred by Accounting Manager and Accounter Case study of The Samutsakhon Industrail Estate. Journal of Thonburi University. 9(20): 49-58. (in Thai)
Keawpab, K. (2012). The Readiness to ASEAN Economic Community of Accounting Students from Bangkok University. Retrieve September, 16 2016 from http://proceedings.bu.ac.th/index.php?start=40 (in Thai)
Ministry of Commerce. Department of Business Development. (2560). Statistics of registered accountants. Department of Business Development Ministry of Commerce. (in Thai)
Phuwidhyapun, A. (2005). Competency Dictionary. 4thed. Bangkok: Pimdee. (in Thai)
Piyawan, P.;& cheung-ieam, S. (2015). Accounting Information System. Bangkok: Widhyapat. (in Thai)
Santhong, Narongwit. (2004). Get to know the competency. Bangkok: HR Centre. (in Thai)
Srisa-ad, B. (2009). Development of research using the model. September, 23 2016, from http://www.watpon.com /boon chom/development.pdf (in Thai)
Suthipun, M. (2014). The readiness's of accounting professionals toward ASEAN economic community. July, 2017 from https://www.tci-thaijo.org/index.php/CBSReview/article/view/16422 (in Thai)
Theogla, D. (2011). The role of human resource managers and the ASEAN Economic Community. Retrieve June, 2 2017, from http://nakhonnayok.go.th/ppisnayok/km25.pdf
Tirasriwat, A. (2016). Compettitive Readiness of Thai Professional A ccountants among The Group Member of ASEAN under Mutual Recognition Arrangements (MRA) on Accountancy Services. Full Text Report. 11 June, 2017 from http://www.fap.or.th/upload/9414/FxyE3wZKxN.pdf (in Thai)
Wilatsakdanan, S. (2015). Open Book FAP Newsletter NO. 36, P. 3. 21 May, 2017, from http://www.fap.or.th /images/ column_1449228158/FAP_News36_All.pdf (in Thai)