ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยในการท่องเที่ยวเชิงศาสนาอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาวัดปากน้ำภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร

Main Article Content

ธีระศักดิ์ เปี่ยมสุภัคพงศ์
ธีระรัตน์ เปี่ยมสุภัคพงศ์
ฐิติพร กรัยวิเชียร
ฐิติพร เปี่ยมสุภัคพงศ์
ภัทราวุธ แก้วสถิตย์

บทคัดย่อ

การวิจัยเชิงสำรวจนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาลักษณะประชากรศาสตร์ของผู้ตอบแบบสอบถาม และปัจจัยส่วนประสมการตลาดของการท่องเที่ยวเชิงศาสนา กรณีศึกษาวัดปากน้ำภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร 2) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลที่ส่งผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยวเชิงศาสนาอย่างยั่งยืน และ 3) ศึกษาปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยวเชิงศาสนาอย่างยั่งยืน โดยใช้วิธีสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบสะดวกจากผู้ที่เดินทางมาที่วัดปากน้ำภาษีเจริญ จำนวน 385 คน ด้วยแบบสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าสถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที การการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว การวิเคราะห์ปัจจัย และการถดถอยพหุคูณ โดยผลการวิจัยพบว่า 1) ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 21-30 ปี มีสถานภาพโสด มีระดับการศึกษาน้อยกว่าปริญญาตรี มีอาชีพเป็นพนักงานบริษัท และมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนน้อยกว่า 15,000 บาท ส่วนผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า 2) ปัจจัยส่วนบุคคลทุกปัจจัยไม่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยวเชิงศาสนาอย่างยั่งยืน อย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 3) ปัจจัยส่วนประสมการตลาดด้านผลิตภัณฑ์ ด้านบุคลากร และด้านกระบวนการมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยวเชิงศาสนาอย่างยั่งยืน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 ทั้งนี้ ตัวแบบการประมาณค่าสามารถอธิบายการตัดสินใจท่องเที่ยวเชิงศาสนาอย่างยั่งยืน ได้ร้อยละ 48.9

Article Details

How to Cite
เปี่ยมสุภัคพงศ์ ธ., เปี่ยมสุภัคพงศ์ ธ. ., กรัยวิเชียร ฐ. ., เปี่ยมสุภัคพงศ์ ฐ. ., & แก้วสถิตย์ ภ. . (2024). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยในการท่องเที่ยวเชิงศาสนาอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาวัดปากน้ำภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยธนบุรี, 19(1), 122–134. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/trujournal/article/view/277961
บท
บทความวิจัย

References

กนกวรรณ ศิลสว่าง. (2562). แนวทางพัฒนาส่วนประสมการตลาด การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในจังหวัดราชบุรี. วารสารวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม. 6(2): 131-146.

กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม. (2547). อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว กับการปปรับตัวของเอสเอ็มอีไทย. สืบค้นเมื่อ 12 เมษายน 2567, https://www.ryt9.com/s/ryt9/143007

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2566). แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2566 - 2570).

จินตนา สุริยะศรี. (2564). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่ออุปสงค์การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน1. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี. 3(3): 67-83.

เจษฎา ความคุ้นเคย. (2565). การศึกษาส่วนประสมทางการตลาดของการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม กลุ่มจังหวัดภาคกลางปริมณฑล. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์. 8(3): 66-81.

ณัฐพร ภูแต้มนิล., เสาวลักษณ์ นิกรพิทยา., สิทธิพรร์ สุนทร., และ ภัณฑิลา น้อยเจริญ. (2565). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม กรณีศึกษาวัดแหล่งท่องเที่ยวในจังหวัดกาฬสินธุ์. วารสารการพัฒนาการเรียนรู้สมัยใหม่ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. 7(8): 271-286.

ทัศนียา กิตติภาคย์พฤทธ์, ทัตษภร ศรีสุข, และ อัศนีย์ ณ น่าน. (2563). พฤติกรรมนักท่องเที่ยวและปัจจัยส่วนประสมการตลาดบริการที่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยวแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในจังหวัดลำปาง. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเวสเทิร์น มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 6(3): 72-84.

ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2566). การท่องเที่ยวไทยฟื้นตัวอย่างไรในเชิงพื้นที่. สืบค้นเมื่อ 12 เมษายน 2567, https://www.bot.or.th/th/research-and-publications/article/chaengsibia/article-2023jun13.html

นวพร บุญประสม., เบญจมาภรณ์ ชำนาญฉา., ศุภลักษณ์ สุริยะ., อติ เรียงสุวรรณ., ประวีร์ เหวียนระวี., และวัลยา ชูประดิษฐ์. (2564). แรงจูงใจและการรับรู้การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่มีอิทธิพลต่อการกลับมาเที่ยวซ้ำ กรณีศึกษา: วัดสำคัญในจังหวัดสมุทรปราการ. วารสารวิชาการสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย. 27(1): 113-127.

ประพันธ์พงษ์ ชิณพงษ์.; และ ชวลีย์ ณ ถลาง. (2565). การวิเคราะห์พฤติกรรมนักท่องเที่ยวและปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดท่องเที่ยว วัฒนธรรมรามัญ กลุ่มจังหวัดลุ่มน้ำเจ้าพระยา. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี. 16(2): 1-19.

พงศ์เสวก เอนกจำนงค์พร. (2565). แรงจูงใจในการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของประชากรรุ่นแซด. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา. 10(1): 280-294.

พิศมัย จัตุรัตน์; และ ชวลีย์ ณ ถลาง. (2565). พฤติกรรมของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่เดินทางมาท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ในชุมชนของกรุงเทพมหานคร. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี. 16(2): 50-64.

พูนทรัพย์ เศษศรี., ชวลีย์ ณ ถลาง., เสรี วงษ์มณฑา., และ สุทธินันทน์ พรพมสุวรรณ. (2566). พฤติกรรมนักท่องเที่ยวชาวไทยและการตัดสินใจเดินทางท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมตามอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมจังหวัดยโสธร. วิทยาการจัดการวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์. 4(1): 56-73.

วรางคณา ตันฑสันติสกุล, เมธาวี ว่องกิจ, และกมลชนก เซ่งสวัสดิ์. (2566). ปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ที่มีอิทธิพลต่อกระบวนทัศน์ของการท่องเที่ยวเชิงศาสนา กรณีศึกษาวัดเจดีย์ (ไอ้ไข่). วารสารราชพฤกษ์. 21(2): 144-159.

Boone, Louis E., & David L. Kurtz. (1989). Contemporary Marketing. 6th ed. Florida: Rinchart and Winston.

Cochran, W. G. (1953). Sampling Techniques. 14th ed. New York: J. Wiley & Sons. P 330.

Dhammakaya. (2012). Wat Paknam Phasi Charoen, Bangkok. Retrieved June 20, 2024, form https://www.dhammakaya.net/blog/2012/01/06

Ghasem, Z., & Seyed, A. Naghavi. (2024). Modeling and simulation of factors affecting the development of Religious tourism in Yazd Province. Tourism Management Studies, 18(64): 145-190.

Hawkins, D. I., & Mothersbaugh, D. L. (2010). Customer Behaviour: Building Marketing Strategy. 11thed. New York: McGraw-Hill.

Irna, Azzadina. & Aulia, Nuru Huda. (2012). Understanding Relationship between personality Types, Marketing-mix Factors, and Purchasing Decisions. Procedia – Social and Behavioral Sciences, 65(2012): 352-357.

Kotler, P., Keller, K. Lane. & Chernev, Alexander. (2022). Marketing Management. 16thed. Harlow: Pearson.

Pradana, G. Y. Kharisma. (2018). Implications of commodified parwa shadow Puppet performance for tourism in ubud, bali. J. business Hosp. Tour, 4(1): 70-79.

Schiffman, L. G., & Kanuk, L. L. (2007). Consumer Behavior. 9th ed. New Jersey: Pearson Prentice Hall.

Siddiqui, K. (2012). Personality influences on customer satisfaction. African journal of business management, 6(11): 4134-4141

Sunartha, I. G. M., Rai S, I. W., Ida, A. M. P., Ruastiti, N. M. & Yunus, Wafom. (2020). The Meaning of pura agung surya bhuvana on the religious life in jayapura in the global era. Humaniora, 11(1): 59-69.

Wheelen, T. L., & Hunger, J. D. (2012). Strategic Management and Business Policy: Toward Global Sustainability. 13thed. London: Pearson.

World Tourism Organization. (2013). Sustainable tourism for Development Guidebook. Madrid: Institutional and Corporate Relations Programme.

Translated Thai References

Anekjumnongporn, P. (2022). Cultural Tourism Motivation of Generation Z. Journal of Humanities and Social Sciences University of Phayao. 10(1): 280-294. (in Thai)

Bank of Thailand. (2023). How Thai tourism recovering spatially. Retrieved April 12, 2024, form https://www.bot.or.th/th/research-and-publications/article/chaengsibia/article-2023jun13.html (in Thai)

Boonprasom, N., Chumnaachar, B., Suriya, S., Reangsuwan, A., Weanrawee, P. & Chupradit, W. (2021). Motivations and Perceptions on Cultural Tourism of Thai Tourists affecting revisit intention: Case Study of famous temples in Smutprakarn Province. APHEIT Journal. 27(1): 113-127. (in Thai)

Chinnaphong, P. & Na Thalang, C. (2022). The Analysis of Tourists Behavior and Marketing Mix on Raman Cultural Tourism among the Provinces of the Chao Phraya Basin. Dusit Thani College Journal. 16(2): 1-19. (in Thai)

Department of Industrial Promotion. (2004). Tourism industry with the adjustment of Thai SMEs. Retrieved April 12, 2024, form https://www.ryt9.com/s/ryt9/143007 (in Thai)

Jatturat, P. & Na Thalang, C. (2022). Behavior of thai Tourists visiting in Cultural Attraction in Community-based of Bangkok. Dusit Thani College Journal. 16(2): 50-64. (in Thai)

Kittipakparit, T., Srisook, T. & Na nan, A. (2020). Tourism Behavior and Services Marketing Mix Factors Affecting Decision Making for cultural Tourist Attractions in Lampang Province. Western University Research Journal of Humanities and Social Science. 6(3): 72-84. (in Thai)

Kwamkhunkoei, J. (2022). The Study of Marketing Mix on Cultural Tourism within the Vicinity Central Provincial Cluster. Journal of Humanities and Social Sciences, Rajapruk University. 8(3): 66-81. (in Thai)

Ministry of Tourism and Sports. (2023). National Tourism Development Plan, No. 3 (2023 - 2027). (in Thai)

Phootaemnin, N., Nikornpittaya, S., Sitthiporn, S.;& Noicharoen, P. (2022). Factors Affecting in Managing Cultural Tourism of the Tourist Attraction in Kalasin Provice. Journal of Modern Learning Development Rajabhat Mana Sarakham University. 7(8): 271-286. (in Thai)

Setsri, P., Na Thalang, C., Wongmontha, Si.; & Pomsuwan, S. (2023). Thai Tourists’ Behavior and Cultural Tourism travel Decision based on Cultural Identity of Yasothon Province. Management Sciences Valaya Alongkorn Review. 4(1): 56-73. (in Thai)

Silaswan, K. (2019). Development guidelines for marketing mix Cultural tourism In Ratchaburi Province. Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University. 6(2): 131-146. (in Thai)

Suriyasri, J. (2021). Factors Influencing demand for cultural tourism in the upper northeast region1. Journal of Management Science Udon Thani Rajabhat University. 3(3): 67-83. (in Thai)

Tantasuntisakul, W. Wongkit, M. & Sangsawad, K. (2023). The Factors Influencing the Paradigm of Religious Tourism: A Case Study of Wat Chedi (Ai Khai). Ratchaphruek Journal. 21(2): 144-159. (in Thai)