การจัดการความรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยีในเชิงพาณิชย์เส้นใยป่านศรนารายณ์

ผู้แต่ง

  • เกษม มานะรุ่งวิทย์ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
  • รัตนพล มงคลรัตนาสิทธิ์ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
  • ก้องเกียรติ มหาอินทร์ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
  • นงนุช ศศิธร คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
  • จำลอง สาริกานนท์ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
  • ชลธิชา สาริกานนท์ คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
  • สัมภาษณ์ สุวรรณคีรี คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
  • กรชนก บุญทร คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
  • จรูญ คล้ายจ้อย คณะอุตสาหกรรมสิ่งทอและออกแบบแฟชั่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
  • ณัฐชา ธำรงโชติ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
  • นิอร ดาวเจริญพร คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
  • เกรียงไกร พัฒนกุลโกเมธ คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
  • เกตุวดี หิรัญพงษ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยา
  • ณัฐดนย์ รุ่งเรืองกิจไกร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

คำสำคัญ:

การจัดการความรู้, ถ่ายทอดเทคโนโลยี, เชิงพาณิชย์, เส้นใย, ป่านศรนารายณ์

บทคัดย่อ

การจัดการความรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยีในเชิงพาณิชย์เส้นใยป่านศรนารายณ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดการความรู้เทคโนโลยีเทคนิคการย้อมสี การพัฒนาผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ และด้านการตลาด การดำเนินโครงการในครั้งนี้ได้มีการประสานกับ หน่วยงานภาครัฐ ตัวแทนกลุ่มแปรรูปป่านศรนารายณ์ จากการดำเนินโครงการในครั้งนี้มีผู้เข้ารับการอบรมทั้งสิ้น 60 คน มีการเก็บข้อมูลแบบมีส่วนร่วมและแบบไม่มีส่วนร่วม การจัดประชุมเพื่อระดมความคิดด้านกระบวนการผลิต พร้อมนำปัญหาที่ได้สู่การวิเคราะห์ข้อมูลทั้งด้านทฤษฎีและปฏิบัติ เพื่อแก้ปัญหาด้านกระบวนการและการสร้างมูลค่าของผลิตภัณฑ์ผลการจัดการความรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยี พบว่า ผลการถ่ายทอดเทคโนโลยีทำให้กลุ่มมีความเข้าใจที่ได้ถ่ายทอดสามารถประยุกต์ความรู้ที่ได้สู่การเปลี่ยนแปลงกระบวนการด้านการผลิตมีการใช้สีธรรมชาติในการย้อมเส้นใย เข้าใจกระบวนการคิดทำให้มีสินค้าที่หลากหลายขึ้นตรงกับความต้องการด้านการใช้งานของผู้บริโภครวมไปถึงการใช้วัสดุประกอบทำให้สินค้าเกิดมูลค่า มีช่องทางการจำหน่ายที่เพิ่มขึ้นสินค้าจากการเปิดช่องทางออนไลน์ทำให้สินค้าเป็นที่รู้จักในวงกว้างขึ้น ผลการประเมินได้จากการรวบรวมข้อมูลจากจำนวนผู้เข้าอบรมพบว่า ความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด 4.29 และได้ต้นแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ถึง 65 รายการ มีการจัดตั้งกลุ่มผลิตกระดาษขึ้นใหม่ มียอดการสั่งซื้อสินค้าเพิ่มมากขึ้นที่มาจากช่องทางการจำหน่ายทางออนไลน์ รูปแบบของสินค้าสอดรับกับความต้องการด้านพฤติกรรมของผู้บริโภคเพิ่มขึ้น และส่งผลให้มูลค่าราคาสินค้ามากขึ้นกว่าเดิมถึง 100 เปอร์เซ็นต์ กลุ่มสามารถบริหารจัดการได้อย่างเป็นระบบ มียอดจำหน่ายสินค้าที่เพิ่มขึ้น และพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน

References

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. (2561). รมช.ลงพื้นที่ยกระดับพัฒนาระบบสหกรณ์ให้เกิดความเข้มแข็ง. สืบค้นเมื่อ 17 พฤษภาคม 2564, จาก http://www.moac.go.th/news-preview-401091791824

กันต์ อินทุวงศ์. (2559). การถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อการยอมรับนวัตกรรมสู่ชุมชน. Academic Journal: Uttaradit Rajabhat University. 10(2): 1-10.

เกษม มานะรุ่งวิทย์. (2561). การผสมเส้นใยและเนื้อป่านศรนารายณ์. [ภาพถ่าย].

________. (2561). การอบรมเมล็ดพันธุ์นักออกแบบ. [ภาพถ่าย].

________. (2562). การออกแสดงสินค้าและการจำหน่ายสินค้าหน้าเพจ. [ภาพถ่าย].

________. (2561). บรรจุภัณฑ์จากกระดาษป่านศรนารายณ์. [ภาพถ่าย].

________. (2561). บรรยากาศการอบรมย้อมสีธรรมชาติจากคราม. [ภาพถ่าย].

________. (2561). ภาพร่างแนวคิดในการออกแบบผลิตภัณฑ์. [ภาพออกแบบสร้างสรรค์].

________. (2561). ส่วนหนึ่งของผลงานการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่. [ภาพถ่าย].

________. (2561). เส้นใยป่านศรนารายณ์เมื่อย้อมสีครามธรรมชาติ. [ภาพถ่าย].

________. (2563). หน้าร้านริมถนนเพชรเกษม (ซ้าย) และร้านจำหน่ายของฝาก1000สุข (ขวา) ในเมืองเพชรบุรี. [ภาพถ่าย].

คณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติ. (2560). ยุทธศาสตร์ 20 ปี (ปี 2560-2579). กรุงเทพฯ: สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี. 82.

ประพล จิตคติ, มณฑา หมีไพรพฤกษ์, อดิเรก ฟั่นเขียว, ณัฐภาณี บัวดี, กรรณิกา อุสสาสาร, อรทัย อนุรักษ์, นันทนัช ตนบุญ. (2564). การพัฒนาผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวชุมชน บ้านท้องคุ้ง จังหวัดกำแพงเพชร. วารสารวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่. 13(2): 120-134.

พรรณี พิมาพันธุ์ศรี. (2563). รูปแบบการมีส่วนร่วมเพื่อการคิดสร้างสรรค์สู่การเพิ่มมูลค่าภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชน. วารสารการจัดการธุรกิจบูรพา มหาวิทยาลัยบูรพา. 9(2): 105-116.

รัตนพล มงคลรัตนาสิทธิ์. (2560). คู่มือองค์ความรู้การย้อมสีครามจากธรรมชาติแบบใหม่บนเส้นด้ายไหมและฝ้ายในเชิงพาณิชย์. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.). 3.

อุทัยวรรณ ภู่เทศ. (2558). การพัฒนาศักยภาพของชุมชนในด้านการสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์จากตาลโตนดบนพื้นฐานภูมิปัญญา ท้องถิ่น. วารสาร มจร. สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. 5(2): 193-204.

Translated Thai References

Intuwong, Kan. (2016). Technology transfer for adopting innovation to the community. Academic Journal: Uttaradit Rajabhat University. 10(2): 1-10. (in Thai).

Jitti, Praphon., Mheepraipruek, Montha., Fankhiao, Adirek., Buadee, Natthaphanee,. Ussasan, Kannika,. Anurak, Orathai., Nuntanat Tonbun. (2021). Product Development of Tourism in Ban Thong Khung Community, Kamphaeng Phet Province. Area Based Development Research Journal. 13(2): 120-134. (in Thai).

Ministry of Agriculture and Cooperatives. (2018). Deputy Minister visited the area to enhance the development of the cooperative system to be strong. Retrieved May 17, 2021, from www.moac.go.th/news-preview-40 1091791824 (in Thai).

Mongkholrattanasit, Rattanaphol. (2017). Knowledge Guide for New Natural Indigo Dyeing on Commercial Silk and Cotton Yarns. National Research Council of Thailand (NRCT). 3. (in Thai).

Phimaphansri, Pannee. (2020). A model of participation for creativity towards adding value to local wisdom of the community. Burapha Journal of Business Management Burapha University. 9(2): 105-116. (in Thai).

Pudet, Uthaiwan. (2016). Development of community potential in creating products from palm sugar based on local wisdom. Journal of the Faculty of Social Sciences, Periscope. 5(2): 193-204. (in Thai).

The National Strategy Committee. (2017). 20 year Strategy (Years 2017-2036). Bangkok: The Secretariat of the Prime Minister, Royal Thai Government. 82. (in Thai).

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-14

How to Cite

มานะรุ่งวิทย์ เ., มงคลรัตนาสิทธิ์ ร. ., มหาอินทร์ ก. ., ศศิธร น. . ., สาริกานนท์ จ. ., สาริกานนท์ ช. ., สุวรรณคีรี ส. ., บุญทร ก. ., คล้ายจ้อย จ. ., ธำรงโชติ ณ. ., ดาวเจริญพร น. ., พัฒนกุลโกเมธ เ. ., หิรัญพงษ์ เ. ., & รุ่งเรืองกิจไกร ณ. . (2021). การจัดการความรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยีในเชิงพาณิชย์เส้นใยป่านศรนารายณ์. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยธนบุรี, 16(1), 93–105. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/trujournal/article/view/254374