อัตราการตอบกลับของแบบสอบถามในงานวิจัยเชิงปริมาณ
คำสำคัญ:
อัตราการตอบกลับ, แบบสอบถาม, การวิจัยเชิงปริมาณบทคัดย่อ
บทความนี้เป็นการนำเสนออัตราการตอบกลับของแบบสอบถามการวิจัย เนื่องจากแบบสอบถามเป็นเครื่องมือสำคัญและเป็นที่นิยมใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างเพื่อนำมาทดสอบสมมติฐานตามระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ อัตราการตอบกลับของแบบสอบถามจึงเป็นตัวชี้วัดอย่างหนึ่งว่าข้อมูลที่นำมาวิเคราะห์นั้นมีจำนวนครบถ้วนตามเกณฑ์ข้อตกลงเบื้องต้นในการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างหรือไม่ บทความนี้วิเคราะห์อัตราการตอบกลับของแบบสอบถาม จำนวน 4 วิธีการ ประกอบด้วย 1) การแจกแบบสอบถามด้วยตนเอง 2) การส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์ 3) การส่งแบบสอบถามทางโทรสารหรือโทรภาพ และ 4) การส่งแบบสอบถามทางเว็บไซต์หรืออินเทอร์เน็ต จากการสังเคราะห์ พบว่า นักวิจัยควรใช้รูปแบบแจกแบบสอบถามด้วยวิธีการสอบถามด้วยตนเอง ทางโทรศัพท์หรือโทรภาพ เนื่องจากจะทำให้ได้ข้อมูลจากตัวอย่างที่ตรงกับประชากรที่ทำการศึกษาและมีความน่าเชื่อถือของข้อมูล และสามารถเก็บข้อมูลได้จนมีปริมาณมากพอในการทดสอบสมมุติฐานทางสถิติ อีกทั้งยังมีความน่าเชื่อถือ และมีความคลาดเคลื่อนของข้อมูลอยู่ในระดับต่ำ
References
การวิจัยเชิงปริมาณ. (2560). สืบค้นเมื่อ 19 พฤศจิกายน 2560, จาก http://nakhonsawanresearch.blogspot.com/ 2011/07/quantitative-research.html.
เกียรติคุณบุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. (2549). การวิจัยเชิงปริมาณ. สืบค้นเมื่อ 20 พฤศจิกายน 2560, จาก http://nakhonsawanresearch.blogspot.com/2011/07/ quantitative-research.html
ประสพชัย พสุนนท์. (2560). การวิจัยเชิงปริมาณ. ในเอกสารประกอบการเรียนการสอนระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ. คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ปรีดา เบ็ญคาร. (2539). การวิเคราะห์อภิมานของปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการตอบกลับแบบสอบถามที่ส่งทางไปรษณีย์. วารสารวิธีวิทยาการวิจัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์; และ บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. (2521). ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ: ศรีอนันต์.
สุภาพร โกเฮงกุล. (2523). อิทธิพลของคำถามที่มีผลสะท้อนและการลงชื่อที่มีต่ออัตราการตอบแบบสอบถามที่ส่งทางไปรษณีย์. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์มหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร.
สุวรรณ สุวรรณเวโช. (2525). หลักการวิจัยทางสังคมศาสตร์ แนวการเขียนวิทยานิพนธ์ รายงานทางการวิชาการและรายงานประจำภาค. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
Baruch, Y. (1999). Response rates in academic studies-a comparative analysis. Human Relations. 421-434.
Berdie, D.R., Anderson J.F., & Niebuhr MA. (1986). Questionnaires: design and use. Metuchen, N.J.: Scarecrow Press
Best, J. W. & Khan, J. V. (1998). Research in Education. Needham Heights: Allyn & Bacon.
Cihan Cobanoglu, Bill Werde; & Patrick J. Moreo. (2001). A comparison of mail, fax and Web-based survey methods, University of Delaware and Oklahoma State University, International. Journal of Market Research.
Couper, M. P. (2000). Web Surveys–A review of issue and approaches. Public Opinion Quartery. 464-494.
Dillman, D. A. (2000). Mail and Internet Surveys: The Tailored Design Method. New York: John Wiley& Sons.
Efax.com. (2017). [online] https://www.efax.com
Fricker, R. D., & Schonlau, M. (2002). Advantages and Disadvantages of Internet research surveys: Evidence from the literature. Field Methods. 347-367.
Groves, R. M. (1989). Survey errors and survey costs. New York: Wiley.
Hardigan, P.C., Succar, C.T. & Fleisher, J.M. (2012). An Analysis of Response Rate and Economic Costs Between Mail and Web3 Based Surveys Among Practicing Dentists: A Randomized Trial. J Community Health. 383-394.
Hoonakker, P.L.T. & Carayon, P. (2009). Questionnaire Survey Nonresponse: A comparison of postal mail and Internet surveys. International Journal of Human Computer Interaction (IJHJI). 25(5):1, 348-373.
Kerlinger, F. N. (1986). Foundations of behavioral research. 3rded. New York: Holt. Rinehart& Winston.
Malhotra, M. K. and Grover, V. (1998). An assessment of survey research in POM: from constructs to theory. Journal of Operation Management.16(4): 407-425.
Mitchell, R.C. (1989). Resources for the Future. Using surveys to Value Public Goods: The Contingent Valuation Method.
Robert M. G. and Lars L. (2010). Total Survey Error: Past, Present, and Future: American association for public opinion research. 74(5): 849–879.
Translated Thai References
Bankan, P. (1996). A meta-analysis of factors affecting response rates to mailed questionnaires. Journal of Research Methodology. Chulalongkorn University. thesis, academic reports and regional reports. Bangkok. Thaiwattanaphanit. (in Thai)
Kijpredarborisuthi, B. (2006). Quantitative Research. (Online). Retrieved 29 April 2017, from http://nak honsawanresearch.blogspot.com/2011/07/quantitative-research.html. (in Thai)
Kohengkul, S. (1980). The effects of sensitive items and signing one’s name to a questionnaire upon the response rate of mailed questionnaires. The master of ducation thesis, Graduate School, Chulalongkorn University, Bangkok. (in Thai)
Pasunon, P. (2017). Quantitative Research. In the quantitative research methodology learning and teaching materials. (in Thai)
Quantitative Research. (2017). (Online) Retrieved 29 April 2017, from http://www.dmh.go.th/news/ view.asp?id=964 (in Thai)
Rasithrathsint, S.;& Boontham, K. (1978). Research Methodology in social science. Bangkok: Srianun. (in Thai)
Sombutteera, K.;& Thavornpitak, Y. (2015). Response Rate and Factors Associating Mailed Questionnaire Response Rate in Nursing Sciences and Public Health Research. KKU Research Journal. (GS.) 15 (1). (in Thai)
Suwanvecho, S. (1982). Principles of social science research, writing guidelines for thesis, academic reports and regional reports. Bangkok. Thaiwattanaphanit. (in Thai)