การได้รับการเสริมสร้างพลังอำนาจของครูผู้สอนระหว่างสถานศึกษาอาชีวศึกษาภาครัฐและภาคเอกชน
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการได้รับการสร้างเสริมพลังอำนาจในการทำงานของครูผู้สอนในสถานศึกษาอาชีวศึกษาภาครัฐและภาคเอกชน กลุ่มตัวอย่างคือ ครูผู้สอนในสถานศึกษาอาชีวศึกษาภาครัฐจำนวน (311 คน) ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล กับครูผู้สอนในสถานศึกษาอาชีวศึกษาภาคเอกชนจำนวน (351 คน) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามเรื่องภาวะผู้นำของของ Bolman และ Deal (2017) มีค่าความเชื่อมั่น (Cronbach’s alpha reliability co-efficiency) เท่ากับ 0.95 ผลการวิจัยพบว่า ครูผู้สอนในสถานศึกษาอาชีวศึกษาภาครัฐเห็นว่าตนได้รับการสร้างเสริมพลังอำนาจในการทำงานอยู่ในระดับมาก ความมีประสิทธิภาพของตนเอง (Self-efficiency) มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ 4.08 ส่วนการตัดสินใจ (Decision making) มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ 3.96 ส่วนครูผู้สอนในสถานศึกษาอาชีวศึกษาภาคเอกชน มีการได้รับการยอมรับทางสังคม (Status) มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ 4.09 ด้านผลกระทบ (Impact) มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ 3.96 ครูผู้สอนมีความคิดเห็นต่อการได้รับการสร้างเสริมพลังอำนาจในการทำงานเป็นไปในทางเดียวกัน (SD = 0.34-0.56)
Article Details
References
แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ.2525-2529). จาก http://www.teacher.SSRU.ac.th/somdech_RU/ file.php/1/1-2557/7.ppt
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564). จาก http://www.moe.go.th/moe/th/moe/th/news/ detail.php?Newsid=47194 & Key = New 20 (in Thai)
มนตรี จุฬาวัฒนฑล. (2543). นโยบายการผลิตและการพัฒนาครู สำนักงานปฏิรูปวิชาชีพครู.สำนักงานคณะกรรมการประถมศึกษาแห่งชาติ. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.
มาตรา 44 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย(ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติคำสั่ง ที่ 8/2559 เรื่อง การบริหารจัดการรวมสถานศึกษาอาชีวศึกษาภาครัฐและภาคเอกชน (ราชกิจจานุเบกษา คำสั่ง คสช.ที่ 8/2559)
Bolman, L.G. & Deal, E. T. (2007). Reframing Organizations: Artistry, Choice, and Leadership: Reframing Organization. San Francisco: Jossey-Bass Publishers.
Lee;& Reigulte. (1994). Empowerment Teacher: What successful Principles Do. Thousand Oaks, California: Corwin Press. Lee, In-sook, and Charles M. Reigeluth.“Empowering Teachers for New Roles in a New Educational System.” Educational Technology 34,1 (January 1994): 61-72.
Scott, C.D.; & Jaffe, D.T. (1991). Empowerment A practice guide for success. California: Crisp publication.
Short, P. M., & Rinehart, J. S. (1992). School Participant Empowerment Scale: Assessment Of Level Of Empowerment Within The School Environment. Journal of Educational and Psychological Measurement, 52, 951-960.
Terry, P.M. (1999). “Empowering Teachers As Leaders” National FORUM Journals Retrieved Accessed 16 April 2013.Blas
Thomas, K.W.,& Velthouse, B.A. (1997). Cognitive Elements of Empowerment: An Interpretive Model of Intrinsic Task Motivation. The Academy of Management Review. 15(4): 666-681.
Translated Thai References
Kaewsri, Kamonrapob. (2007). A Study of Components of An Instructional Assessment system according to A Collaborative Evaluation Approach for Private Vocational Institutes. Journal of Thonburi University. 10(22): 40-46. (in Thai)
Montri, Chulavatnatol. (2543 ). Policy for Teacher Production and Development. Office of Professional Teacher Reform. Office of The Basic Education Commission. (in Thai)
Section 44 Constitution of the Kingdom of Thailand, Buddhist Era 2557 (2007) (temporary). Command Document 8/2559 by Chief of National Council for Peace and Order (NCPO) on Education Administration and Management of Vocational Level both Government and Private Institutes.(Royal Thai Government Gazette, NCPO 8/2559). (in Thai)
The Fifth Education Development Plan (BE. 2525-2529). From http://www.teacher.SSRU.ac.th/somdech_RU/ file.php/1/1-2557/7.ppt (in Thai)
The Twelfth National Economic and Social Development Plan (BE. 2560-2564). From http://www.moe.go.th/moe/ th/moe/th/news/detail.php?Newsid=47194 & Key = New 20 (in Thai)