การบริหารตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วน ตำบลหนองกอมเกาะ อำเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาการบริหารตามหลักธรรมาภิบาล 2. เพื่อเปรียบเทียบการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลที่มีลักษณะส่วนบุคคลต่างกัน และ 3. เพื่อเสนอทางการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลหนองกอมเกาะ อำเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ กำหนดกลุ่มตัวอย่างจากประชากร จำนวน 7,462 คน โดยใช้สูตรของทาโร่ยามาเน่ ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 380 คน รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและสัมภาษณ์ มีค่าความตรงเชิงเนื้อหาตั้งแต่ 0.67-1.00 และมีความเชื่อมั่นเท่ากับ .857 การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติค่าร้อยละค่าเฉลี่ยค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test และ F-test
ผลการวิจัยพบว่า 1. ระดับการปฏิบัติงานการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลภาพรวมอยู่ในระดับมาก 2. การเปรียบเทียบการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลที่มีคุณลักษณะส่วนบุคคลแตกต่างกันพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามที่มีคุณลักษณะส่วนบุคคลแตกต่างกันมีความคิดเห็นไม่แตดต่างกัน 3. ข้อเสนอแนะแนวทางการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลเห็นว่าการสร้างธรรมาภิบาลภายในองค์กรนั้นควรได้รับความร่วมมือจากทุกฝ่ายไม่ว่าจะเป็นคณะผู้บริหาร บุคลากรภายในองค์การบริหารส่วนตำบล ประธานชุมชน และประชาชนทั่วไป และมุ่งเน้นให้ ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารบ้านเมืองให้เกิดผลสำเร็จได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารบัณฑิตสาเกตปริทรรศน์ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆบทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารบัณฑิตสาเกตปริทรรศน์ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารบัณฑิตสาเกตปริทรรศน์ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสารบัณฑิตสาเกตปริทรรศน์ ก่อนเท่านั้น
References
ภาษาไทย
ชูชีพ สุขหมื่น และคณะ. (2566). การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลคูบาง หลวง อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี. วารสารวิทยาลัยสังฆ์นครลำปาง. 12(1), 28-40.
ธัญวกาญจน์ คำมูล. (2559). การบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลของเทศบาลตำบลช้างเผือก จังหวัดเชียงใหม่. การค้นคว้าอิสระนี้เป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
ธนพงษ์ คงศิลป์ทรัพย์. (2561). การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลดงเดือย อำเภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย. วารสารพุทธนวัตกรรมและการจัดการ. 2(1), 54-62.
บุษบง ชัยเจริญวัฒนะ และบุญมี ลี้. (2544). รายงานการวิจัยเรื่องตัวชี้วัดธรรมาภิบาล. กรุงเทพมหานคร: สถาบันพระปกเกล้า.
พิชัยรัฐ หมื่นด้วง และนัสพงษ์ กลิ่นจำปา. (2564). การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การ บริหารส่วนตําบลหนองบัว อําเภอเมือง จังหวัดหนองบัวลําภู. Journal of Roi Kaensarn Academi. 6(9), 425-438.
เมธาพร บุตรกุล และคณะ. (2562). การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกรณีศึกษา : องค์การบริหารส่วนตำบลอำแพง อำเภอบ้านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร. การค้นคว้าอิสระหลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิทยาการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
วรลักษณ์ วรรณกูล. (2559). การบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลในอำเภอบางปะหัน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. การค้นคว้าอิสระหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.
ศรัญยา ราชรักษ์. (2563). การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของเทศบาลตําบลขุนทะเลอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี. วารสารการวิจัยการบริหารการพัฒนา. 10(3), 192-202.
สุพจน์ ทรายแก้ว. (2553). การจัดการภาครัฐแนวใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 2. พระนครศรีอยุธยา: โรงพิมพ์เทียนวัฒนา2545
องค์การบริหารส่วนตำบลหนองกอมเกาะ. (2565). ข้อมูลพื้นฐานประชากร ปี พ.ศ. 2566. หนองคาย องค์การบริหารส่วนตำบลหนองกอมเกาะ.
อรทัย ทวีระวงษ์. (2557). การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอำเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี.
ภาษาอังกฤษ
Butrakul M. and colleagues. (2019). Governance management according to the principles of good governance of local administrative organizations: A case study of the Amphaeng Subdistrict Administrative Organization, Ban Phaew District, Samut Sakhon Province. Faculty of Local Development Science, Ramkhamhaeng University.
Chaiyajaroenwatana B. and Lee B. (2001). Research report on indicators of good governance. Bangkok: King Prajadhipok’s Institute.
Khammool T. (2016). Governance management according to the principles of good governance of the Chang Phueak Subdistrict Municipality, Chiang Mai Province. Independent study is part of the Master’s degree program in Public Administration, Maejo University.
Kongsilpsap T. (2018). Governance management according to the principles of good governance of the Dong Dueay Subdistrict Administrative Organization, Kong Krailat District, Sukhothai Province. Journal of Buddhist Innovation and Management. 2(1), 54-62.
Muenduang P. and Klinjampa N. (2021). Governance management according to the principles of good governance of the Nong Bua Subdistrict Administrative Organization, Mueang District, Nong Bua Lamphu Province. Journal of Roi Kaensarn Academy, 6(9), 425-438.
Nong Kom Ko Subdistrict Administrative Organization. (2022). Basic population data for the year 2023. Nong Khai: Nong Kom Ko Subdistrict Administrative Organization.
Ratcharak S. (2020). Governance management according to the principles of good governance of the Khun Thale Subdistrict Municipality, Mueang District, Surat Thani Province. Journal of Research in Development Administration. 10(3), 192-202.
Sai Kaew S. (2010). New Public Management. 2nd ed. Phra Nakhon Si Ayutthaya: Thian Wathana Printing House 2002.
Sukmueng C. and colleagues. (2023). Governance management according to the principles of good governance of the Ku Bang Luang. Subdistrict Administrative Organization, Lam Luk Ka District, Pathum Thani Province. Journal of Nakhon Lampang Buddhist College. 12(1), 28-40.
Taweeruang O. (2014). Governance management according to the principles of good governance of local administrative organizations in Phanom Thuan District, Kanchanaburi Province. Master's thesis, Kanchanaburi Rajabhat University.
Wannakul W. (2016). Governance management according to the principles of good governance of Subdistrict Administrative Organizations in Bang Pahan District, Phra Nakhon Si Ayutthaya Province. Independent study is part of the Master’s degreeprogram in Public Administration, Rajabhat University Phra Nakhon Si Ayutthaya.
Yamane T. (1973). Statistics: An Introductory Analysis. 3rd Ed. Harper and RowPublications.