บทบาทสื่อออนไลน์กับการเสริมสร้างประชาธิปไตยในสังคมไทยยุคดิจิทัล
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาบทบาทของสื่อออนไลน์กับการเมืองแบบประชาธิปไตย และบทบาทพื้นที่ของสื่อออนไลน์กับการเสริมสร้างประชาธิปไตยในสังคมไทย รวมทั้ง สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีผลต่อเสริมสร้างประชาธิปไตยในสังคมไทยยุคดิจิทัล พบว่า บทบาทของสื่อออนไลน์และเทคโนโลยีสารสนเทศถือเป็นกลไกในการขับเคลื่อนให้เกิดกระบวนการพัฒนาเพื่อเสริมสร้างประชาธิปไตยในสังคมไทยยุคดิจิทัล ตลอดจนเป็นปัจจัยแวดล้อมต่าง ๆ ที่อาจส่งผลทั้งทางตรงและทางอ้อมดังกล่าว เพื่อประโยชน์ในการแสวงหาแนวทางการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อให้มีบทบาทในพื้นที่ของสื่อออนไลน์ที่จะสามารถเข้าถึงในรูปแบบต่างๆ และเกิดกระบวนการพัฒนาเสริมสร้างประชาธิปไตยในพื้นที่สังคมไทยยุคดิจิทัลที่สามารถขับเคลื่อนไปสู่การแสวงหาแนวทางการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับประชาธิปไตยในสังคมไทยได้อย่างยั่งยืน ต่อไป
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารบัณฑิตสาเกตปริทรรศน์ ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆบทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารบัณฑิตสาเกตปริทรรศน์ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารบัณฑิตสาเกตปริทรรศน์ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสารบัณฑิตสาเกตปริทรรศน์ ก่อนเท่านั้น
References
ภาษาไทย
พฤทธิสาร ชุมพล. (2540). ระบบการเมือง: ความรู้เบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ยุทธพร อิสรชัย. (2544). อินเตอร์เน็ตกับการเมืองไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญารัฐศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาการปกครอง. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะรัฐศาสตร์.
สุภิญญา กลางณรงค์. (2543). มาตรา 40 กับวาทกรรมการปฏิรูปสื่อ. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาวิชาวารสารศาสตร์และการสื่อสารมวลชน. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
วิภา อุตมฉันท์. (2554). ปฏิรูปสื่อเพื่อสังคม หลักคิด และบทเรียนจากนานาประเทศ. กรุงเทพมหานคร : โครงการตำราและเอกสารทางวิชาการ ภาควิชาการสื่อสารมวลชน คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อนันตา นานา. (2547). หนังสือทำมือกับการเป็นสื่อทางเลือก. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาวารสารสนเทศ. คณะนิเทศศาสตร์: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อุบลรัตน์ ศิริยุวศักดิ์. (2550). สื่อและสิทธิการสื่อสารของประชาชนฟิลิปปินส์. กรุงเทพมหานคร : โครงการจัดพิมพ์คบไฟ.
อุบลรัตน์ ศิริยุวศักดิ์. (2554). สื่อออนไลน์ BORN TO BE DEMOCRACY. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ PRACHATAI BOOKCLUB.
ภาษาอังกฤษ
Chumphon P. (1997). Political System: Basic Knowledge. Bangkok: Chulalongkorn University Press.
Issarachai Y. (2001). The Internet and Thai Politics. Master's thesis, Department of Political Science. Chulalongkorn University. Faculty of Political Science.
Karen Mossberger, et al. (2011). Digital Citizenship : The Internet. Society and Participation, The MIT Press. London: England.
Klangnarong S. (2000). Section 40 and the discourse of media reform. Master's thesis. Department of Journalism and Mass Communication. Thammasat University.
Mossberger K., et al. (2011). Digital Citizenship : The Internet. Society and Participation. The MIT Press. London: England.
Nana A. (2004). Handmade Books and Alternative Media. Master's Thesis in Journalism and Information. Faculty of Communication Arts: Chulalongkorn University.
Siriyuwasak U. (2007). Media and Communication Rights of the People of the Philippines. Bangkok: Kobfai Publishing Project.
Siriyuwasak U. (2011). Online media BORN TO BE DEMOCRACY. Bangkok: PRACHATAI BOOKCLUB Publishing.
Utmachan W. (2011). Media Reform for Society: Principles and Lessons from Various Countries. Bangkok: Textbook and Academic Documents Project. Department of Mass Communication. Faculty of Communication Arts: Chulalongkorn University.