Characteristics of Desirable local Politicians of the People in Khon Kaen Municipality

Main Article Content

PhraPromwihan Athidhummo (Daendongying)

Abstract

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาระดับคุณลักษณะของนักการเมืองท้องถิ่นที่พึงประสงค์ของประชาชนในเขตเทศบาลนครขอนแก่น 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับคุณลักษณะของนักการเมืองท้องถิ่นที่พึงประสงค์ของประชาชนในเขตเทศบาลนครขอนแก่น เป็นการวิจัยแบบผสานวิธี คือ เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่าง คือ ประชาชนทั่วไปที่มีสิทธิเลือกตั้งที่อาศัยอยู่ในเขตเทศบาลนครขอนแก่นจำนวน 91,650 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ โดยใช้สูตรของ Taro Yamane จึงได้กลุ่มตัวอย่างจำนวนจำนวน 400 คน และผู้ให้ข้อมูลสำคัญ คือ พระสังฆาธิการ บุคคลกรและประชาชนในเขตเทศบาลนครขอนแก่น ด้วยวิธีเลือกแบบเจาะจง จำนวน 10 รูป/คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test และ F-test วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสังคมศาสตร์ ส่วนการวิจัยเชิงคุณภาพ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้เทคนิควิเคราะห์เนื้อหาประกอบบริบท
ผลการศึกษาพบว่า
ระดับคุณลักษณะของนักการเมืองท้องถิ่นที่พึงประสงค์ของประชาชนในเขตเทศบาลนครขอนแก่น โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และผลการเปรียบเทียบ พบว่า ประชาชนที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือนต่างกันมีความคิดเห็นต่อคุณลักษณะของนักการเมืองท้องถิ่นที่พึงประสงค์ของประชาชน ในภาพรวมแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.05

Article Details

How to Cite
Athidhummo (Daendongying), P. (2022). Characteristics of Desirable local Politicians of the People in Khon Kaen Municipality. Journal of Graduate Saket Review, 7(2), 36–47. Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/saketreview/article/view/258433
Section
Research Article

References

ภาษาไทย

จรัส สุวรรณมาลา. (2550). วัฒนธรรมการเมืองท้องถิ่นในประเทศไทย. วารสารสถาบันพระปกเกล้า. 5(3), 83-106.

ชนาณัฐ เจริญรักษ์. (2556). ความคิดเห็นของประชาชนต่อการดำเนินงานของเทศบาลตำบลเกวียนหัก อำเภอขลุง จังหวัดจันทบุรี. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยบูรพา

ไชโย ขันบวรกุล. (2557). มุมมองนักการเมืองท้องถิ่นที่พึงประสงค์ของประชาชน อ.อรัญประเทศ จ.สระแก้ว. วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยบูรพา.

โชคสุข กรกิตติชัย.(2560). ทิศทางการปกครองส่วนท้องถิ่นตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560. กลุ่มงานบริการวิชาการ 1 สำนักวิชาการ.

ธวัชชัย วงศ์สังยะ. (2554). คุณลักษณะของนักการเมืองท้องถิ่นในอุดมคติ: กรณีศึกษา ตำบลบางโปรง อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ. วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา.

ธีระศักดิ์ บึงมุม. (2560). การพัฒนาบุคลากรตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ในสถานศึกษาขั้น พื้นฐานสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 4. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี.

พรเพชร์ สุดถิ่น. (2555). คุณลักษณะที่คาดหวังของนายกเทศมนตรีของเทศบาลเมืองปรกฟ้า อําเภอเกาะจันทร์ จังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา.

พระยุรนันท์ ภทฺทธมฺโม. (2564). การบริหารงานตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ขององค์การบริหารส่วนตำบลบ้านวัง อำเภอโนนไทย จังหวัดนครราชสีมา. รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

ไพสิน นกศิริ. (2558). คุณลักษณะของนักการเมืองท้องถิ่นที่ประชาชนพึงประสงค์ในเขตเทศบาลตำบลคลองหาด จังหวัดสระแก้ว. วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการเมืองการปกครอง คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.

รณกฤต ทะนิต๊ะ. (2553). คุณลักษณะนักการเมืองท้องถิ่นตามความคาดหวังของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์. สาขารัฐประศาสนศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์.

วรยุทธ สถาปนาศุภกุล. (2558). คุณลักษณะผู้นําทางการเมืองท้องถิ่นที่พึงประสงค์ตามทัศนะของประชาชน อําเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา.

วุฒิสาร ตันไชย. (2548). การกระจายอำนาจสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพมหานคร: บริษัท เอ.พี. กราฟิค ดีไซน์และการพิมพ์ จำกัด.

เวียงรัฐ เนติโพธิ์. (2551). การกระจายอำนาจกับแบบแผนใหม่ของเครือข่ายอิทธิพล. กรุงเทพมหานคร: เอดิสันเพรส โปรดักส์.

สมศักดิ์ หัทยานนท์. (2551). คุณลักษณะที่พึงประสงค์ต่อการตัดสินใจเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลคลองแงะอำเภอสะเดาจังหวัดสงขลา. รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

สุคนธ์ เถาทอง และคณะ. (2561). คุณลักษณะของนายกเทศมนตรีที่พึงประสงค์ในเขตเทศบาลเมืองควนลัง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา. รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.

สุชานุช พันธนียะ. (2563). คุณลักษณะของนักการเมืองท้องถิ่นที่พึงประสงค์ในทัศนะของประชาชนในเขตเทศบาลนครตรัง. วารสารสถาบันพระปกเกล้า. 18(3), 17-35.

อภิชาต สถิตนิรามัย. (2555). รัฐธรรมนูญการกระจายอำนาจและการมีส่วนร่วมของประชาชน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์เดือนตุลา.

อุดม ทุมโฆษิต. (2550). การปกครองท้องถิ่นสมัยใหม่: บทเรียนจากประเทศพัฒนาแล้ว. กรุงเทพมหานคร: โครงการเอกสารและตำรา. สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

ภาษาอังกฤษ

Apichart Sathitniramai. (2555). Decentralization of the Constitution and Public Participation. Bangkok: October printing press.

Chaiyo Khanabwornkul. (2557). Aspects of Desirable Local Politicians of People in Aranyaprathet District, Sa Kaeo Province. Master of Political Science Thesis. Burapha University.

Channanat Charoenrak. (2013). Public Opinions on the Performance of Kwian Hak Subdistrict Municipality, Khlung District, Chanthaburi Province. Master of Public Administration Thesis. Burapha University

Charas Suwanmala. (2550). Local political culture in Thailand. Journal of King Prajadhipok’s Institute, 5(3), 83-106.

Choksuk Kornkittichai. (2560). Direction of local government under the Constitution of the Kingdom of Thailand, B.E. 2560. Academic Service Group 1 Academic Branch.

Paisin Noksiri. (2558). Characteristics of local politicians desirable by the people in the

municipality of Khlong Hat Subdistrict Sa Kaeo Province. Master of Political Science Thesis. Department of Politics and Governance. Faculty of Political Science and Law: Burapha University.

PhraYuranan Bhattathammo. (2564). Administration according to Sappurisdhamma 7 of Ban Wang Subdistrict Administrative Organization, Non-Thai District, Nakhon Ratchasima Province. Master of Public Administration. Mahachulalongkorn rajavidyalaya University.

Pornpetch Sudtin. (2555). Expected attributes of the mayor of the municipality of Prok Fa Koh Chan District Chonburi. Master of Political Science Thesis. Burapha University.

Ronnakit Thanita.(2553). Characteristics of local politicians according to the expectations of the people in Buriram municipality Buriram Province. Master of Public Administration Buriram Rajabhat University.

Somsak Hattayanon. (2551). Desirable characteristics for the decision to elect members of the municipal council of the people in Khlong Ngae Sub-district Municipality Sadao District, Songkhla Province. Master of Public Administration. Khon Kaen University.

Suchanuch Phanthaniya. (2563). Desirable characteristics of local politicians in the opinion of people in Trang Municipality. King Prajadhipok’s Institute Journal. 18(3), 17-35.

Sukhon Thaothong. (2561). Attributes of Desirable Mayors in Khuan Lang Municipality, Hat Yai District, Songkhla Province. Master of Public Administration. Hat Yai University.

Teerasak Buengmum. (2560). Personnel development according to Sappurisdhamma 7 principles in educational institutions Foundation of Khon Kaen Primary Educational Service Area Office, Region 4. Bangkok Thonburi University.

Thawatchai Wongsangya. (2554). Characteristics of an ideal local politician: Case Study, Bang Prong Subdistrict, Mueang District, Samut Prakan Province. Master of Political Science Thesis. Burapha University.

Udom Tumkosit. (2550). modern local government: Lessons from developed countries. Bangkok: Project Documents and Textbooks. National Institute of Development Administration.

Vorayut SathapanaSupakul. (2558). Desirable characteristics of local political leaders according to people’s perspectives, Mae Rim District, Chiang Mai Province. Master of Political Science Thesis. Mahamakut Wittayalai University Lanna Campus.

Wiangrat Netipho. (2551). decentralization with the new pattern of influence networks. Bangkok: Edison Press Products.

Wutthisan Tanchai. (2548). Decentralization of powers to local government organizations. 6th. printing. Bangkok: A.P. Graphic Design and Printing Co., Ltd.