การศึกษาคุณลักษณะภาวะผู้นำเชิงพหุวัฒนธรรมของนักศึกษาครูในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้

Authors

  • ปาลิดา สายรัตทอง พัฒนพิชัย คณะบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • อำภาพรรณ ตันตินาครกูล
  • ขนิษฐา สาลีหมัด
  • วัยวุฑฒ์ อยู่ในศิล

Keywords:

Multicultural Leadership, Student Teacher, Three Southern Border Province

Abstract

This research and development aimed to develop an attribute of multicultural leadership and to create a tool to assess multicultural leadership in student teacher in Three Southern Border Province. The research was conducted 4 phases 1)to study information and to interview 11 person relates to attribute of multicultural leadership in student teacher in Three Southern Border Province 2)data from information and interview  were used to synthesize attribute of multicultural leadership 3)to develop a tool to assess multicultural leadership in student teacher 4) to try out the tool with 29 third-year student teacher.Research findings: The attribute of multicultural leadership consisted 3 components 1) multicultural knowledge 2) multicultural attitude 3) multicultural skill, tool for each component are as multiple-choice exam, written response and assessment for classroom activities. The results of try out show that all of tools can assess multicultural leadership with statistical significance at the .05 level.

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2558). ASEAN: Do’s and Don’ts: ราชอาณาจักรไทย. สืบค้น 25 ธันวาคม 2563,
จาก https://www.ocsc.go.th/sites/default/files/document/asean_dos_and_donts_raachaanaacchakraithy.pdf
กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). แผนยุทธศาสตร์การศึกษา เขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้
20 ปี (พ.ศ.2560-2579). สืบค้น 25 ธันวาคม 2563, จาก http://planning.pn.psu.ac.th/
plan_doc/procedure/docs_procedure/200_1509510396.pdf
ชุตินันท์ จันทรเสนานนท์ และคณะ. (2555). การพัฒนาแบบวัดสมรรถนะเชิงวัฒนธรรม. วารสารครุศาสตร์,
80(1), 43-58.
ณิชาภา จันทร์เพ็ญ. (2555). การพัฒนาตัวบ่งชี้และแบบวัดสมรรถนะข้ามวัฒนธรรมของครู: การทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนของการวัดตามภูมิหลังของครู (วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย., กรุงเทพฯ). สืบค้นจาก https://www.car.chula.ac.th/display7.php?bib=b1978188
ดนุลดา จามจุรี และ บุบผา เมฆศรีทองคำ. (2555). การพัฒนาภาวะผู้นำในนิสิตนักศึกษาระดับอุดมศึกษา. วารสารนักบริหาร, 32(1), 169-173.
พัชรา วาณิชวศิน. (2560). การพัฒนาภาวะผู้นำ: จากทฤษฎีสู่แนวปฏิบัติที่ดีและกรณีศึกษา = Leadership development: theories, best practices and case study. ปัญญาชน.
พิริยะ กรุณา. (2561). การบริหารสถานศึกษาแบบพหุวัฒนธรรมในโรงเรียนสองศาสนา. การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ “Graduate school conference 2018”.
สืบค้น 25 ธันวาคม 2563, จาก http://conference2017.grad.ssru.ac.th/
มยุรา นพพรพันธุ์, พิมพ์ประภา อมรกิจภิญโญ, และธนีนาฎ ณ สุนทร. (2559). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมภาวะผู้นำผู้รับใช้เชิงวัฒนธรรมสำหรับ นักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยเซนต์หลุยส์ เพื่อรองรับการเข้าสู่
ประชาคมอาเซียน. วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข, 26(2), 116-127.
ศูนย์บริการวิจัย มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.(2559). รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 11 เรื่อง “พหุวัฒนธรรม: โอกาสและความท้าทาย (น. 3-4). http://www.dpu.ac.th/
conference/upload/
สมุทร ชำนาญ. (2554). ภาวะผู้นำแบบรับใช้: มุมมองใหม่ของภาวะผู้นำทางการศึกษา. วารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา, 5(2), 1-14.
สุพัตรา วัชรเกตุ. (2557). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง: สิ่งที่ท้าทายผู้นำทางการพยาบาล. วารสารพยาบาลทหารบก, 15(3), 58-63.
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (มปป). แผนยุทธศาสตร์การศึกษาเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ
จังหวัดชายแดนภาคใต้ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579). สืบค้น 25 ธันวาคม 2563, จาก http://planning.pn.psu.ac.th/plan_doc/procedure/docs_procedure/200_1509510396.pdf
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2561). แผนพัฒนาภาคใต้ชายแดนในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ.2560-2564. สืบค้น 25 ธันวาคม 2563, จาก
https://www.nesdc.go.th/ewt_news.php?nid=7267
สำมะโนประชากรและเคหะ. (2554). รายงานผลเบื้องต้นสำมะโนประชากรและเคหะ 2553 (ทั่วราชอาณาจักร). กรุงเทพฯ: สำนักสถิติพยากรณ์.
อุดร หลักทอง. (2558). แนวทางการสร้างความเข้มแข็งของชุมชนพหุวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหิดล.
อุทัยวรรณ พงษ์บริบูรณ์. (2562). สุดยอดผู้นำคือผู้ให้บริการ. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัย อีสเทิร์นเอเชีย ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 9(1), 1-9.
เอกรินทร์ สังข์ทอง. (2555). ภาวะผู้นำเชิงพหุวัฒนธรรมของผู้อำนวยการโรงเรียนของรัฐในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้. ปัตตานี: สำนักวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
โอภาส เกาไศยาภรณ์. (2555). เครือข่ายสังคมเชิงเสมือนกับการพัฒนาการจัดการศึกษาในสังคมพหุวัฒนธรรม. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 10(1), 5-14.
Gandolfi, F. & Stone, S. (2018). Leadership, Leadership Styles, and Servant Leadership. Journal of Management Research, 18(4), 261-269.
Rachmawatia, A. W., & Lantu, D. C. (2014). Servant Leadership Theory Development & Measurement. Procedia-Social and Behavioral Sciences, 115, 387-393
Spears, L. C., (2010). Character and Servant Leadership: Ten Characteristic of Effective, Caring Leaders. The Journal of Virtues& Leadership, 1(1), 25-30.
Stagnitti, K., Schoo, A., & Welch, D. (2013). Clinical and Fieldwork Placement in the Health Professions. Oxford University Press.

Downloads

Published

2021-12-08