การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ สำหรับนักศึกษาวิชาชีพครู

Authors

  • พนม จองเฉลิมชัย
  • รุ่งทิวา แย้มรุ่ง
  • ชมนาด เชื้อสุวรรณทวี

Keywords:

Learning Management Model, Creative Problem Solving, Preservice Teacher

Abstract

            The purposes of this research were 1) to developed learning management model for enhancing preservice teacher creative problem-solving skills, 2) to study the efficiency of the learning management model for enhancing preservice teacher creative problem-solving skills. The research design of this study was Research and Development. There were 3 phases to this research: phase 1 a study the composition and indicators of creative problem-solving skills. Phase 2 the development of learning management model of enhancing preservice teacher creative problem-solving skills. Phase 3 the evaluation of efficiency of learning management model for enhancing preservice teacher creative problem solving skills. The sample used in the research consisted of 7 specialist member by purposive sampling. The instruments of this research were Interview and Assessment form for consistency and Suitability of the learning management model is 5 level evaluation. The collected data were analyzed by mean and standard deviation

            The results of the research were as follows: 1) learning management model for enhancing preservice teacher creative problem-solving skills consisted of 6 components: rationale, objective, Subject, learning management, Media and support learning management and measurement and evaluation. The learning management consisted of 5 steps:  find a problem, analytical thinking and presentation of problem-solving way, plan and doing, create knowledge, applied in real life creatively. 2) The efficiency of the learning management model for enhancing preservice teacher creative problem-solving skills is at the highest level. When considering each issue, it was found that (1) The evaluation of the suitability of the learning management model for Enhancing creative problem-solving skills for preservice teacher is at the highest level ( gif.latex?\bar{x} = 4.80, S.D. = 0.40) (2) The evaluation of the consistency of the learning management model for Enhancing creative problem-solving skills for preservice teacher is at the highest level ( gif.latex?\bar{x} = 4.75, S.D. = 0.46) 

References

กัลยา ภู่ทอง. (2555). การพัฒนาผลการเรียนรู้ ความคิดสร้างสรรค์ และความเข้าใจที่คงทนเรื่อง สิ่งแวดล้อม
รอบตัว ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบซินเนคติคส์.
(วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต). นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม. (2558). สรุปผลการประเมินบัณฑิตตามกรอบมาตรฐาน TQF
คณะครุศาสตร์. นครปฐม: คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครปฐม.
โครงการ PIZA ประเทศไทย สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2554). ปัจจัยที่ทำให้
ระบบโรงเรียนประสบความสำเร็จ. กรุงเทพมหานคร: สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี (สสวท).
นลินทิพย์ คชพงษ์ และ วรรณี สุจจิตร์จูล. (2557). การศึกษาเอกลักษณ์ของนักศึกษาวิชาชีพครู
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม. การประชุมวิชการระดับชาติ ครั้งที่ 7. นครปฐม:
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม, 204.
บรรจง อมรชีวิน. (2554). Thinking School สอนให้คิด. กรุงเทพมหานคร: ภาพพิมพ์
พรสวรรค์ วงค์ตาธรรม. (2558). การคิดแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ ทักษะการคิดในศตวรรษที่ 21. วารสาร
ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นปีที่ 38 ฉบับที่ 2 (เมษายน – มิถุนายน), 114.
วรพงษ์ แสงประเสริฐ, รุ่งทิวา แย้มรุ่ง และ ลัดดาวัลย์ เกษมเนตร (2560). การพัฒนากระบวนการจัดการ
เรียนรู้ตามแนวคิดการเรียนรู้เชิงรุกเพื่อส่งเสริมความสามารถในการพูดภาษาอังกฤษอย่างมี
วิจารณญาณของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย. วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์ คณะ
ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : ปีที่ 18 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน
2560, 118-119.
วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.
ศศิณัฎฐ์ สรรคบุรานุรักษ์ และชัชว์ เถาว์ชาลี. (2560). การพัฒนารูปแบบการสอนที่เน้นภาระงานเพื่อส่งเสริม
ความสามารถในการอ่านภาษาจีนเพื่อความเข้าใจ สำหรับนักศึกษาปริญญาตรี. Veridian
E-Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ
ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม – สิงหาคม 2560, 1003.
ศิริเดช สุชีวะ และคณะ. (2559). ทักษะทางปัญญาของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา: การพัฒนาโมเดลและ
เครื่องมือวัดออนไลน์. สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) สืบค้น 10
กรกฎาคม 2562 จาก file:///C:/Users/user/Downloads/pdf_1512096158%20(1).pdf
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับปรับปรุง (พ.ศ.2560 – 2574).
กรุงเทพมหานคร: สกศ.
-------. (2562). กรอบสมรรถนะหลักสูตรผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และระดับประถมศึกษาตอนต้น
(ป.1 - 3). กรุงเทพฯ: 21 เซ็นจูรี่ จำกัด.
Coil, C. (2014). Creativity in an assessment driven environment. Knowledge Quest, 42(5), 48.
Pannels, Tammy C. (2010). The effects of training preservice teacher in creative problem
solving and classroom management. Oklahoma: University of Oklahoma graduate
college.
Ray, D.K, & Romano Jr, N.C.. (2013) Creative problem solving in GSS group: Do creative styles
matter?. Group Decision and Negotiation, 22(6), 1129 – 1157
Torrance, E.P. (1973). Encoutaging creative in classroom. Lowa: Wm C Brown Company
Publisher.
Treffinger, D. J., Selby, E. C., & Isaksen, S. G. (2008). Understanding individual problem-solving
style: A key to learning and applying creative problem solving. Leaning and
Individual Differences, 18(4). 390-395.
Trilling, B., & Fadel, C. (2009). 21 st century skills: Learning for life in our times. San Francisco:
Wiley.
World Economic Forum. (2018). The Future of Jobs Report 2018. สืบค้น 14 เมษายน 2563, จาก
http://www3.weforum.org/docs/WEF_Future_of_Jobs_2018.

Downloads

Published

2021-06-07