ผลของการพัฒนากระบวนการเรียนรู้จิตบริการด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ภายใต้ระบบครอบครัวเสมือน ที่มีต่อทักษะกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบเชิงสร้างสรรค์ด้วยเทคนิคตะกร้า 3 ใบ ของบุคลากรด้านสุขภาพ

Authors

  • มกราพันธุ์ จูฑะรสก
  • ทิวา มหาพรหม
  • นิระมล สมตัว
  • ศิริมา โกมารทัต
  • จุรี แสนสุข
  • อัจฉรา ชนะบุญ
  • อณิษฐา จูฑะรสก

Keywords:

simulated family system, systematic creative thinking skill, three baskets technique

Abstract

This mixed-method research aimed to assess systematic creative thinking skills among healthcare personnel after they participated in the learning processes using three-basket technique under the humanized health care development program known as the simulated family system. The conceptual framework of this study was based on the literature related to systematic theory (Boulding, 1959) and the concept of humanized health care development under the simulated family system (มกราพันธุ์ จูฑะรสก, 2552) The sample of 74 healthcare personnel taking part in the simulated family system during 2016 and 2020 were purposively selected. The research instruments consisted of 1) the learning handbook for humanized health care development under the simulated family system; 2) the data collection instruments comprised of a questionnaire for general information of the sample group, the evaluation form to assess systematic creative thinking skills with three-basket technique, and the semi-structured questionnaire for in-depth interview. The descriptive statistics was used to present the demographic data; meanwhile the Pearson correlation coefficient was used to examine the relationship between the frequency of learning experiences and the advancement of systematic creative thinking skills of the sample together with the qualitative data analysis.

               The findings showed that the participants of humanized health care development with a simulated family system had improved the systematic creative thinking skills. The number of participation times had positive correlation with the advancement of systematic creative thinking skills at a significance level of 0.05. In addition, the qualitative analysis reflected that the participants taking part in the program were impressed by the hands-on training covering deep listening skills, questioning skills and the information about innovator’s DNA.  This hands-on training was done before letting each participant apply the knowledge they learned to their own context. Also, participants were warmly encouraged to share their experiences with others in the Professional Learning Community (PLC) or Community of Practice (CoP) and get feedback from expert coaches.

References

กระทรวงสาธารณสุข. (2555). แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรม กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2555 – 2559. กรุงเทพฯ : บริษัทยุทธรินทร์การพิมพ์
กระทรวงสาธารณสุข. (2560). แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรม กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560 – 2564. กรุงเทพฯ : บริษัทยุทธรินทร์การพิมพ์
โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์. (2550). ดูแลด้วยหัวใจ ใส่ใจความเป็นมนุษย์. ใน ตกผลึกอุดมการณ์ปฐมภูมิสู่การปฏิบัติการ - งานสุขภาพชุมชน: เอกสารการประชุมวิชาการ Primary Care ครั้งที่ 2 วันที่ 22-23 กุมภาพันธ์ 2550 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา. นนทบุรี: สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน.
จุรี แสนสุข,นิระมล สมตัว,วิไลวรรณ วัฒนานนท์,และแสงดาว จันทร์ดา.(2562). ผลการจัดการศึกษาแบบบูรณาการโดยใช้ระบบครอบครัวเสมือนต่อความคงทนของอัตลักษณ์จิตบริการด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ของบัณฑิตพยาบาล.ขอนแก่น: วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ขอนแก่น.
ประเวศ วะสี. (2550). วิถีมนุษย์ในศตวรรษที่ 21: ศูนย์ หนึ่ง เก้า. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: โครงการหนังสือวิชาการจิตตปัญญา
เพลินตา พรหมบัวศรี และอรพิน สว่างวัฒนเศรษฐ์. (2560). การพัฒนาครูโค้ชในศตวรรษที่ 21. วารสารวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ, 11(1). 110 – 121.
มกราพันธุ์ จูฑะรสก. (2552). กระบวนการเรียนรู้ จิตบริการด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ภายใต้ระบบครอบครัวเสมือน.ขอนแก่น : คลังนานาวิทยา.
มกราพันธุ์ จูฑะรสก. (2554). การสร้างเครือข่ายระบบสาธารณสุขในวิชาชีพพยาบาล: ภายใต้บริการด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ ความร่วมมือระหว่างสถานศึกษาสู่สถานบริการเพื่อชุมชนเข้มแข็ง. (พิมพ์ครั้งที่ 2). ขอนแก่น: คลังนานาวิทยา.
มกราพันธุ์ จูฑะรสก, ลิลลี่ ศิริพร และอณิษฐา จูฑะรสก. (2556). การปฏิรูปกระบวนการผลิตและพัฒนากําลังคนด้านสาธารณสุข เพื่อสร้างอัตลักษณ์จิตบริการด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์.ใน มกราพันธุ์ จูฑะรสก และอณิษฐา จูฑะรสก (บรรณาธิการ). การจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลงสู่องค์กรแห่งความสุขบนฐาน “จิตบริการด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ภายใต้ระบบครอบครัวเสมือน”.ขอนแก่น: คลังนานาวิทยา.
มกราพันธุ์ จูฑะรสก. (2562). การพัฒนากระบวนการคิดอย่างเป็นระบบเชิงสร้างสรรค์: การสะท้อนคิดด้วยเทคนิคตะกร้า 3 ใบ. วารสารวิจัยและพัฒนาหลักสูตร,9(2), 203-222.
มกราพันธุ์ จูฑะรสก เพลินตา พรหมบัวศรี วัชรี อมรโรจน์วรวุฒิ ศุกร์ใจ เจริญสุข ประเสริฐ อัตโตหิ อณิษฐา จูฑะรสก และอรพิน สว่างวัฒนา. (2560).การสะท้อนเส้นทางการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้จิตบริการด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ภายใต้ระบบครอบครัวเสมือนสู่คณะปฏิบัติการไร้พรมแดนปัญญาปฏิบัติ. วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข, 27(2), 31-45.
มกราพันธุ์ จูฑะรสก,วัชรี อมรโรจน์วรวุฒิ,วิไลวรรณ วัฒนานนท์, เบญจพร ทิพยผลาผลกุล และอณิษฐา จูฑะรสก.(2562). การศึกษาเพื่อการเปลี่ยนแปลง: ความร่วมมือระหว่างสถานศึกษาและสถานบริการในชุมชน. วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข.Forthcoming 2562 ธันวาคม.
มกราพันธุ์ จูฑะรสก และอณิษฐา จูฑะรสก. (2559). การสะท้อนคิด:กระบวนการคิดอย่างเป็นระบบเชิงสร้างสรรค์ด้วยตะกร้า 3 ใบ.กรุงเทพฯ: แดเน็กซ์ อินเตอร์คอร์ปอเรชั่น.
มกราพันธุ์ จูฑะรสก, สุวคนธ์ แก้วอ่อน และจุรี แสนสุข. (2555). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรม การพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้าน (อสม.) ด้วยกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบและจิตบริการด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์.การประชุมวิชาการวิจัยสถาบันประจําปี 2555: การวิจัยสถาบันกับกระบวนการเรียนรู้สู่อนาคต. สมาคมสถาบันและพัฒนาอุดมศึกษา (สวพอ.)
มูลนิธิพัฒนาการศึกษาบุคลากรสุขภาพแห่งชาติ. (2560). แผนยุทธศาสตร์พัฒนาการศึกษาสำหรับบุคลากรด้านสุขภาพในศตวรรษที่ 21 (พ.ศ. 2557-2561). สืบค้นเมื่อ 27 มกราคม 2563 จาก http://www.healthprofessionals21 thailand.org/
ลิลลี่ ศิริพร มกราพันธุ์ จูฑะรสก ศุกร์ใจ เจริญสุข เฟื่องฟ้า นรพัลลภ และนิชดา สารถวัลย์แพศย์ (2557). รูปแบบการจัดการศึกษาแบบบูรณาการกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบและจิตบริการด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ในสังคมพหุวัฒนธรรม สถาบันพระบรมราชชนก.วารสารการพยาบาลและการศึกษา,7(1), 39-54.
วัชรี อมรโรจน์วรวุฒิ, วิไลวรรณ วัฒนานนท์, นิระมล สมตัว และคณะ. (2561). ถอดบทเรียนกระบวนการพัฒนาคุณลักษณะความเป็นพลเมืองสร้างสรรค์ ของทีมแกนนํากัลยาณมิตร วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ขอนแก่น.ขอนแก่น: วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ขอนแก่น.
วิชัย วงษ์ใหญ่ และมารุต พัฒผล.(2557). การโค้ชเพื่อการรู้คิด:Cognitive coaching.กรุงเทพฯ: จรัลสนิทวงศ์ การพิมพ์.
ศิริมา โกมารทัต, อรุณนี ประทุมถิ่น และณิรดา ปิ่นประสงค์ (2561).รายงานการวิจัยการสร้างแกนนํากัลยาณมิตรเพื่อขับเคลื่อนองค์กรคุณธรรมโรงพยาบาลชัยภูมิ.(เอกสารอัดสําเนา).
สงศรี กิตติรักษตระกูล และคณะ. (2554). การพัฒนารูปแบบเครือขายจิตบริการดวยหัวใจ ความเป็นมนุษยของวิทยาลัยสังกัดสถาบันพระบรมราชชนก.วารสารกองการพยาบาล,38(1), 16-30.
สถาบันพระบรมราชชนก.(2554). คู่มือการดําเนินการเพื่อให้เกิดอัตลักษณ์บัณฑิต สถาบันพระบรมราชชนก.นนทบุรี:ยุทธรินทร์การพิมพ์.
สถาบันพระบรมราชชนก.(2556). คู่มือการดําเนินการเพื่อให้เกิดอัตลักษณ์บัณฑิต สถาบันพระบรมราชชนก.นนทบุรี:ยุทธรินทร์การพิมพ์.
สมควร หาญพัฒนชัยกูร มกราพันธ์ุ จูฑะรสก ลิลลี่ ศิริพร จิราพร วัฒนศรีสิน ศุกร์ใจ เจริญสุข วัชรี อมรโรจน์วรวุฒิ และคณะ. (2557). การพัฒนาชุมชนสุขภาวะโดยใช้นวัตกรรมระบบครอบครัวเสมือน (หนึ่งวิทยาลัย หนึ่งชุมชน). Nursing Journal of The Ministry of Public Health, 24(1), 67-79.
อำพล จินดาวัฒนะ. (2550).ปฏิรูปสุขภาพปฏิรูปชีวิตและสังคม: บันทึกเสี้ยวหนึ่งของการปฏิรูประบบสุขภาพ.(พิมพ์ครั้งที่ 2). นนทบุรี: สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ
Banathy, B. H. (1991). Systems Design of Education: A Journey to Create the Future, Educational Technology, Englewood Cliffs, NJ.
Banathy, B. H. (1992). Systems Design of Education: Concepts and Principles for Effective Practice, Educational Technology, Englewood Cliffs, CA.
Boulding, K.E. (1959). National images and international systems. Journal of Conflict Resolution, 3, 120-131.
Elifson, K. (1990). Fundamental of social statistics International edition. Singapore: McGraw-Hill.
Jutarosaga M. & Jutarosaga A. (2011). Developing a Network Model for Humanized Public Health Care in Nursing Profession: Service for Local Community Empowerment, Health Service for Local Community Empowerment. Health Challenge Thailand Conference: London
Jutarosaga M., Siriporn L. & Jutarosaga A. (2014). The Development Pathway of Integrated Education System in Thai Nursing Colleges under the Praboromarajchanok Institute for Humanized Health Care. Proceeding of Prince Mahidol Award Conference; 27-31 Jan.2014.Pattaya, Thailand.
Umenai, T., Wagner, M., Page, L., Faundes, A., Rattner, D., Dias, M., Tyrrell, M., et al. (2001), Conference agreement on the definition of humanization and humanized care. International Journal of Gynecology & Obstetrics, 75: S3-S4. doi:10.1016/S0020-7292(01)00508-2

Downloads

Published

2021-06-07