รูปแบบการจัดการศึกษาบูรณาการเพื่อเสริมสร้างทักษะการสร้างสรรค์นวัตกรรมของอาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข

Authors

  • เสาวลักษณ์ ศรีดาเกษ

Keywords:

Creative systems thinking, Coaching, Creative skills, Innovation skills, Reflection thinking

Abstract

The purpose of this research was 1) to develop an integrated education management model to enhance the creative skills of teachers and support staff at Sirindhorn College of Public Health Khon Kaen Province Praboromarajchanok Institute, Ministry of Public Health, 2) to assess the effectiveness of the integration of educational management model to enhance the creative skills of teachers and support staff in Sirindhorn College of Public Health Khon Kaen Province Praboromarajchanok Institute Ministry of Public Health, 3) to study the impact of students in Sirindhorn College of Public Health, Praboromarajchanok Institute, Ministry of Public Health and 4) to investigate the impact of the community relation to the practical training of students at the Sirindhorn College of Public Health Khon Kaen Province Praboromarajchanok Institute, Ministry of Public Health. The participants consist of 158 people including teachers, support staff and students at the Sirindhorn College of Public Health Khon Kaen province. The research instrument employed the assessment for the Growth mindset development.

          The results revealed that an integrated educational management model was included four schemes, such as 1) The consequence of the objective concept model, which included 5 steps; (1) to develop a growth mindset, (2) Creating a passion for innovation, (3) Creating innovation based on the research, (4) Reflection the lessons learned and (5) Exchange of knowledge and innovations. It concerns that the evaluation component was a composition using the concept of professional learning communities, growing a growth mindset, personal development coaching, creative systematic thinking, lessons learned, reflecting and creating passion and creative learning teams. 2) The developed model was effective and able to enhance the creative skills of teachers and support staff, 3) the developed model has affected students growing their mindset on innovation, and 4) the developed model has a positive impact on the community work.

References

ดวงดาว วงษ์พระลับ ดวงฤดี โชติกลางและอัจฉรา ชนะบุญ (2562) ถอดบทเรียนการพัฒนาการคิดอย่างเป็นระบบเชิงสร้างสรรค์ของบุคลากรสายสนับสนุนโดยการใช้สุนทรียสนทนาและเทคนิคตะกร้า 3 ใบ วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น. : ขอนแก่น .
ดวงดาว วงษ์พระลับ ดวงฤดี โชติกลางและฤดีรัศมิ์ ศรีฐานสุขะกุล .(2563) ถอดบทเรียนการประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของบุคลากรสายสนับสนุน การสร้างนวัตกรรมโดยใช้วิจัยเป็นฐาน วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น. : ขอนแก่น .
ดวงดาว วงษ์พระลับ ฤดีรัศมิ์ ศรีฐานสุขะกุลและศุภากร ไชยวงษ์ (2563). คู่มือการสร้างแกนนำกัลยาณมิตรของอาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน ประจำปีงบประมาณ 2562. วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น.
ดุจเดือน เขียวเหลือง. (2556). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบสะท้อนคิดเพื่อสร้างเสริมความสามารถในการตัดสินใจ เชิงจริยธรรมทางการพยาบาลสำหรับนักศึกษาพยาบาล. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.
พิมพ์พันธ์ เดชะคุปต์ และพะเยาว์ ยินดีสุข. (2549). ลักษณะการเรียนการสอนประยุกต์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2552). “กลยุทธ์การขับเคลื่อนนวัตกรรมการเปลี่ยนผ่านการศึกษา “สัตตศิลา”สู่โรงเรียน”. เอกสารประกอบการประชุมวิชาการการวิจัยทางศึกษาระดับชาติ ครั้งที่ 13 วันที่ 10-11 กันยายน 2552 ณ โรงแรมแอมบาสเดอร์ กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.
ไพฑูรย์ สินลารัตน์ และคณะ. (2555). รายงานผลการวิจัย การนำเสนอรูปแบบการจัดการศึกษาในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อส่งเสริมความมั่นคงของชาติ ในจังหวัดชายแดนของประเทศไทย.
กรุงเทพฯ : คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
มกราพันธุ์ จูฑะรสก และอณิษฐา จูฑะรสก. (2559). การสะท้อนคิด: กระบวนการคิดอย่างเป็นระบบเชิงสร้างสรรค์ด้วยตะกร้า 3 ใบ (พิมพ์ครั้งที่ 2) กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แดเน็กซ์อินเตอร์คอร์ปอเรชั่น จำกัด.
มกราพันธุ์ จูฑะรสก. (2556). การคิดอย่างเป็นระบบ. การประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน (ฉบับปรับปรุง) (พิมพ์ครั้งที่1). กรุงเทพฯ: โครงการสวัสดิการวิชาการ สถาบันพระบรมราชนก.
วิจารณ์ พานิช. (2556). การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสยามกัมมาจล.
วิชัย วงษ์ใหญ่ และมารุต พัฒผล. (2558). การโค้ชเพื่อการรู้คิด (Cognitive Coaching). พิมพ์ครั้งที่ 5กรุงเทพฯ. จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์.
วิชัย วงษ์ใหญ่ และมารุต พัฒผล. (2562). การพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ ตามแนวคิดชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ. กรุงเทพฯ. ศูนย์ผู้นำนวัตกรรมหลักสูตรและการเรียนรู้.
วิชัย วงษ์ใหญ่ และมารุต พัฒผล. (2556). เอกสารประกอบการบรรยายโครงการพัฒนากระบวนการคิดอย่างเป็นระบบเพื่อการจัดการศึกษาแบบบูรณาการภายใต้กระบวนการเรียนรู้จิตบริการด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ ระหว่างวันที่ 3-5 เมษายน 2556. กาญจนบุรี.
วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น. (2559). หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน (ฉบับปรับปรุง) พ.ศ.2559. สถาบันพระบรมราชชนก สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข.
วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น. (2559) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย์ (ฉบับปรับปรุง) พ.ศ.2559. สถาบันพระบรมราชชนก สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข.
วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น. (2563). ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ แผนยุทธศาสตร์ วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563-2567. เอกสารอัดสำเนา
วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น. (2562). แผนยุทธศาสตร์พัฒนา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น พ.ศ. 2559-2563.(ฉบับปรับปรุง) พ.ศ.2562. เอกสารอัดสำเนา
สถาบันพระบรมราชชนก (2559) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย์ (ฉบับปรับปรุง) พ.ศ.2559. เอกสารอัดสำเนา สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข.
สถาบันพระบรมราชชนก. (2554). คู่มือการดำเนินการเพื่อให้เกิดอัตลักษณ์บัณฑิต สถาบันพระบรมราชชนก. นนทบุรี: ยุทธรินทร์การพิมพ์.
สมาพร มณีอ่อน. (2560). การพัฒนาครูในศตวรรษที่ 21 โดยใช้เทคนิคการโค้ช (Coaching). วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 15(2), 61–73.
สุขุมา ฐิติพลธำรง. (2559). การบูรณาการแนวคิดการสร้างเสริมสุขภาพในการจัดการเรียน การสอนรายวิชาการพยาบาลอนามัยชุมชนและสมรรถนะด้านการสร้างเสริมสุขภาพของนักศึกษาพยาบาล. วารสารพยาบาลกาชาดไทย, 9(2), 49-72.
อภิญญา ธรรมแสงและคณะ.(2562). คู่มือหน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ “การแก้ไขปัญหาโรคติดเชื้อทางเดินหายใจซึ่งเป็นภาวะวิกฤต ในการฝึกภาคปฏิบัติของนักศึกษาที่เกี่ยวข้องกับชุมชนในปัจจุบัน”.วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น.
Costa, Arthur L. & Garmston, Robert j. (2002). Cognitive Coaching a Foundation for Renaissance Schools. 2nded. Massachusetts: Christopher–Gordon Publishers, Inc.
DuFour, R. (2004). “What is professional learning community?” Educational Leadership. 61(8), 6-11.
DuFour, R., Eaker, R., & Many, T. (2006). Learning by doing: A handbook for enhancing student achievement. Bloomington, IN: Solution Tree.
Hondzel, C. Dishke. (2013). Fostering Creativity: Ontario Teacher’s Perceptions, Strategies, and Experiences. London: Graduate Program in Education Studies. The University if Western Ontario.
Knight, Jim. (2009). Coaching Approaches & Perspectives. California: Corwin Press.
Lashley, Conrad. (2001). Empowerment HR Strategies for service excellence. Oxford; Boston: Butterworth – Heinemann.
Marzano Research Laboratory. (2012). Teacher Development Toolkit for the Marzano Teacher Evaluation Model. Bloomington: Marzano Research Laboratory.
Marzano, Robert J. and Simms, Julia. (2012). Coaching Classroom Instruction: The Classroom Strategies Series. Bloomington: Marzano Research Laboratory.
McGill, Ian & Brockbank, Anne. (2004). The Action Learning Handbook. London; New York: Routledge Falmer.

Downloads

Published

2020-06-04