การศึกษาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไปของหลักสูตรปริญญาตรีวิทยาลัยเซนต์หลุยส์

Authors

  • อัชฌา ชื่นบุญ Saint Louis College
  • พิศุลี สร้อยโมรี
  • ทรงวุฒิ บุริมจิตต์
  • ภาวดี รามสิทธิ์
  • ชุติมา แสงดารารัตน์
  • วฤณดา กาญจนทรางกู
  • นฤมล ช่องชนิล

Keywords:

Quality of the instructional management, General education program

Abstract

The purposes of this research aimed to study in the quality of the instructional management of the courses of General Education for the Bachelor’s Degree Programs in Saint Louis College consists of 1) Learning outcomes 2) Course content 3) Design of teaching methods and teaching activities 4) Course assessment and evaluation. The sample involved 218 nursing students, 31 psychology students, and 57 physiotherapy students, collected using a questionnaire, and 23 nursing students, 20 psychology students, and 20 physiotherapy students, collected using focus group discussion. Data was analyzed by descriptive statistics and content analysis. The results indicated that the quality of the instructional management of the courses of General Education for the Bachelor’s Degree Programs in Saint Louis are in high levels; faculty of nursing with an average of 3.67, faculty of psychology with an average of 3.65, and faculty of physiotherapy with an average of 3.65. There were comments suggesting that the instructional management of the courses of General Education should design more courses focusing on the real-life situations and ways of living.

References

ลินดา เกณฑ์มา, ชลลดา พงศ์พัฒนโยธิน, อัควิทย์ เรืองรอง, พนอเนื่อง สุทัศน์ ณ อยุธยา,
ชัชศรัณย์ จิตคงคา, และจตุพล เจริญรื่น. (2558). การศึกษาสภาพและความต้องการในการจัดการเรียนการสอน วิชาศึกษาทั่วไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ในมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. วารสารสารสนเทศ, 14(1), 69-81.
สมิทธิรักษ์ จันทรักษ์. (2560). การพัฒนารูปแบบการสอนรายวิชาศึกษาทั่วไปตามกรอบ
มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติของหมวดวิชาศึกษาทั่วไป วิทยาลัยดุสิตธานี กรุงเทพมหานคร, ในเอกสารประกอบการประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 8. สงขลา: มหาวิทยาลัยหาดใหญ่. เข้าถึงได้จากhttp://www.hu.ac.th/conference/conference2017/proceedings/data/05-1-Oral%20Presentation/1.Education/10-G2-4-115E-O(สมิทธิรักษ์%20จันทรักษ์).pdf
สำนักมาตรฐานและคุณภาพอุดมศึกษา. (ม.ป.ป.). กรอบแนวคิดหมวดวิชาศึกษาทั่วไปที่
สอดคล้องตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552. สืบค้น 20 มกราคม 2563, จาก http://www.bhes.mua.go.th/bhes4/WebHigher Ediucation/index/
ศรีลา บุญระหงส์. (2544). ความคิดเห็นของนักศึกษามหาวิทยาลัยพายัพ ต่อรายวิชาใน
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป (การค้นคว้าแบบอิสระศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่). สืบค้นจาก http://cmuir.cmu.ac.th/ handle/6653943832/24549
อุทัย ดุลยเกษม. (2558). การจัดการศึกษารายวิชาศึกษาทั่วไป. วารสารนวัตกรรมการ
เรียนรู้, 1(1), 43-52.

Downloads

Published

2020-06-04