การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง มะพร้าวทับสะแกของโรงเรียนวัดหนองหอย จังหวัดประจวบคีรีขันธ์โดยใช้กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม

Authors

  • คธาวุฒิ สมทรง คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบุรี
  • กาญจนา บุญส่ง
  • ไพรัช มณีโชติ

Keywords:

local curriculum development , Coconut Thap Sakae

Abstract

       The purposes of this research are as follows :1) determine knowledge about the products made from coconut in Thap Sakae, and 2) develop a local curriculum on the coconut in Thap Sakae.The study was conducted by using the participatory action research practice. The target group were 51 participants, consisting of the school principals, teachers, community leader, parent, the local wisdoms, and students in Mathayomsuksa 1 at Watnonghoi School under the PrachaupKhiri Khan.The research instruments were interview, an achievement test, a skill assessment, and a desirable feature evaluation. The statistics used for data analysis were percentage, means, standard deviation and the method of content analysis. The results of this study show that:

  1. 1. The knowledge of coconut in Thap Sakae consisted of : 1) Three breeding types of coconut—Malayo yellow, Chumphon Hybrid and Phuang Thong 12) Coconut products from Thap Sakae include coconut sugar Making coconut oil Making wickerwork from the stem of the coconut tree, namely such as Coconut leaf stalk bloom , Making straw hats from coconut leaves Making lamps from coconut shells And cooking from coconut including 1) coconut curry 2) sour curry, young coconut peppers 3) roasted coconut chili paste 4) Southern rice porridge 5) soft coconut candy 6) young coconut roast7) ​​young coconut rice.
  2. 2. The local curriculum on coconut Thap Sakaedeveloped by Watnonghoi School, PrachaupKhiri Khan province, consisting of the curriculum structure and content in 5 learning units;1) Context of Baan Nonghoi. 2) Botany of Thap Sakae Coconut. 3) Coconut products at Nonghoi4) Local food Recipes from coconut, 5) Treasure at Ban Nonghoi. After implementing the curriculum in a classroom experiment, the students’ post-test learning achievement was higher than the pre-test mean score at 38.44 % and the evaluation of the curriculum made by the involved persons revealed that this curriculum was effective accordingly to its principles and stated objectives.

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2562). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุ สภาลาดพร้าว.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2562). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
กาญจนา บุญส่ง และนิภา เพชรสม. (2556). ชุดฝึกอบรม การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นและหลักสูตรสถานศึกษาที่เน้นอาเซียน. เพชรบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบุรี.
_________. (2556). เอกสารประกอบการสอนวิชา ผู้นำทางวิชาการและการพัฒนาหลักสูตร. เพชรบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบุรี.
กาญจนา บุญส่ง นิภา เพชรสม และชนานุช เงินทอง. (2560). การพัฒนาครูโดยใช้กระบวนการพี่เลี้ยง ประกอบคู่มือการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ด้วย STEM Education เพื่อพัฒนากระบวนการคิดของผู้เรียน. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 7(2), 134-141.
ชูชัย มีนุช. (2555). การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง ตาลโตนดที่บ้านไร่กร่าง ตำบลไร่สะท้อน อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี โดยกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). เพชรบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี.
ณภัทร ศิลปะศร. (2553). การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง สัตว์ที่อาศัยในระบบนิเวศป่าชายเลน ตำบล ปากทะเล อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี โดยกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). เพชรบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี.
ธีระวุฒิ เอกะกุล. (2558). การวิจัยปฏิบัติการ(Action Research). อุบลราชธานี: บริษัท ยงสวัสดิ์อินเตอร์ กรุ๊ป จำกัด.
นงนภัส คู่วรัญญู เที่ยงกมล. (2556). การวิจัยเชิงบูรณาการแบบองค์รวม. กรุงเทพฯ: บริษัท วี พริ้นท์ (1991) จำกัด.
บงกชพร กรุดนาค. (2555). การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง สารสกัดสมุนไพรและปุ๋ยหมักธรรมชาติจากภูมิปัญญาท้องถิ่นตำบลกลัดหลวง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี โดยการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). เพชรบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี.
ปฏิญญา สังขนันท์. (2560). การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น เรื่องผลิตภัณฑ์จากมะพร้าวที่บ้านลาดเป้ง ของโรงเรียนวัดลาดเป้ง จังหวัดสมุทรสงคราม โดยกระบวนการวิจัยแบบมีส่วนร่วม (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). เพชรบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี.
รัตนะ บัวสนธ์. (2556). วิจัยเชิงคุณภาพทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: บริษัทวี. พรินท์ (1991) จำกัด.
วรวรรณ มิถุนดี. (2554). การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง เมืองขุขันธ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 3 (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). สุรินทร์: มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์.
วีระยุทธ ชาตะกาญจน์. (2557). การวิจัยเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ: บริษัท วี.พรินท์ (1991) จำกัด.

Downloads

Published

2020-06-01