ผลของการให้คำปรึกษารายบุคคลแบบบูรณาการเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางใจของสตรีที่มีการสูญเสียสามีในสถานการณ์ความไม่สงบจังหวัดชายแดนภาคใต้

Integrative individual counseling; Resilience; Widows from the conflict zone in the southern border provinces

Authors

  • ขวัญธิดา - พิมพการ 0823543399
  • อัจศรา ประเสริฐสิน
  • ชมพูนุท ศรีจันทร์นิล

Keywords:

Integrative individual counseling; Resilience ; Widows from the conflict zone in the southern border provinces

Abstract

              The purposes of the research topic consisted of main issues: to study the effects of an integrative individual counseling model to strengthen their resilience.The population of this study consisted of three thousand, two hundred and fifty-nine widows from the conflict zone. The sample was composed of sixteen widows and selected by purposive sampling and based on the criteria. Each group consisted of eight

widows. The research instruments included the components of resilience  measure and an integrative

individual counseling model to strengthen resilience. Data were analyzed for percentage, mean, standard deviation. F-test and one way analysis of  variance.              The research results were as follows: the statistically significant differences in the total score and each component of the resilience of the experimental group were found after counseling and at the end of  the follow-up to be  higher than before counseling while the control group was at a level of .05. The results of this study indicated that the individual counseling model was a key factor in increasing positive changes in the widows. 

References

กาญจน์สุนภัส บาลทิพย์; อุษณีย์ เพชรรัชตะชาติ;
ศิริวรรณ พิริยคุณธร; นฤมล ติระพัฒน์; ปราณี
เลี่ยมพุทธทอง. (2559). การพัฒนารูปแบบการ
ใช้แนวคิดเป้าหมายในชีวิตและปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการสร้างเสริม
สุขภาพแบบองค์รวมของวัยรุ่นไทย. วารสาร
พยาบาลสงขลานครินทร์. 36(3): 111-130.
เจษฎา สุวรรณวารี; และทิพย์วัลย์ สุรินยา . (2558).
การมองโลกในแง่ดี การเสริมสร้างพลัง
สุขภาพ และการเข้าถึงบริการสุขภาพกับ
คุณภาพชีวิตของพนักงานรถไฟ เขตธนบุรี
กรุงเทพมหานคร. วารสารสำนักบัณฑิต
อาสาสมัคร.11(2): 39-64.
ฐิชารัศม์ พยอมยงค์; และธีรวรรณ ธีระพงษ์. (2557).
ผลของการให้คำปรึกษาแบบบุคคลเป็น
ศูนย์กลางตามแนวคิดของโรเจอรส์ที่มีต่อ
ความรู้สึกเห็นคุณค่าในตนเองและความ
เข้มแข็งทางจิตใจของเด็กด้อยโอกาส.
วารสารมนุษยศาสตร์สาร.13(4): 201-210.
ผ่องพรรณ ตรัยมงคลกูล; และ สุภาพ ฉัตราภรณ์.
(2553). การออกแบบการวิจัย
(พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
วรางคณา รัชตะวรรณ; ทศพร ประเสริฐสุข; นันทนา
วงษ์อินทร์บุญเชิด; และ ภิญโญ อนันนตพงษ์.
(2554). การศึกษาและพัฒนาการมองโลกใน
แง่ดีของนักเรียนวัยรุ่น โดยการให้คำปรึกษา
กลุ่ม.วารสารศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น.5(4): 143-152.
ศิริวรรณ พิริยคุณธร; ขวัญตา บาลทิพย์; และขนิษฐา
นาคะ. (2557). ประสบการณ์การนำหลักคำ
สอนทางพุทธศาสนามาใช้ในการดำเนินชีวิต
ของผู้สูงอายุที่มีโรคเรื้อรังในชุมชนชนบท.
วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์.34(2):
39-52.
ศิวมล คำนวล . (2552). ความสัมพันธ์ระหว่าง การมอง
โลกในแง่ดี ความสามารถในการเผชิญ และ
ฟันฝ่าอุปสรรค และความสุข : กรณีศึกษา
พนักงานบริษัทเอกชน. ปริญญาศิลปศาสตร
มหาบัณฑิต (จิตวิทยาอุตสาหกรรมและ
องค์การ). ปทุมธานี: บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.ถ่ายเอกสาร.

ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้. (2558). ฐานข้อมูล
การเฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้ .สืบค้นเมื่อ
12 กรกฎาคม 2558, จาก WWW.Deep South
Watch.org
สุภัสสรณ์ แก้วกลิ่น. (2559). ผลของการให้คำปรึกษา
แบบกล่มตามแนวคิด พิจารณาเหตุผลอารมณ์
และพฤติกรรม เพื่อเพิ่มความสามารถในการ
เผชิญและฝ่าฟันอุปสรรคของนักเรียน
มัธยมศึกษาชั้นปี ที่ 2 ของโรงเรียนแห่งหนึ่งใน
จังหวัดสระบุรี. ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต
(จิตวิทยาการปรึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิต
วิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ถ่ายเอกสาร.
เสาวนิจ นิจอนันต์ชัย; และ มาลี สันติถิรศักด์. (2557).
การสนับสนุนทางสังคมและสิ่งแวดล้อมที่มีผล
ต่อการดูแลตนเองของผู้สูงอายุในจังหวัด
สมุทรปราการ. วารสารกองการพยาบาล.
37(2): 64-76.
อรัญญา รักหาบ; เพลินพิศ ฐานิวัฒนานนท์; กิตติกร
นิลมานัต; และ อังศุมา อภิชาโต. (2550).
การปฏิบัติตามหลักธรรมทางศาสนาพุทธ
การรับรู้ภาวะสุขภาพ กับความหวังในผู้ป่วย
เอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์.วารสารสงขลานครินทร์
เวชสาร.25(4): 259-271.
อรรคพล ศศะภูริ. (2559). การช่วยเหลือเยียวยาสตรี
หม้ายและเด็กกำพร้าเนื่องจากสถานการณ์
ความไม่สงบในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
(ปัตตานี ยะลา นราธิวาส). สืบค้นเมื่อ 11
มิถุนายน 2561, จาก https://www.m-
society.go.th/ewt_news.php?nid=8941
เอกชัย อินหงษา; บวร ไชยษา; และ ธีรวุฒิ เอกะกุล.
(2557). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการดูแล
สุขภาพเด็กที่มีความต้องการพิเศษของ
ผู้ปกครองเด็กในจังหวัดอำนาจเจริญ.
วารสารวิจัยสาธารณสุขศาสตร์. 5(1): 29-40.

Brecht, G. (1996). Sorting out goals. Sydney:
Prentice Hall.
Christensen, L.B.; John, R.B.; & Turner, L. (2010).
Research methods, design, and analysis
(11 th ed). Upper Saddle River, NJ:
Prentice-Hall.
Corey, C. (2012). Theory and practice of
counseling & psychotherapy. (9th ed.).
Belmont, CA: Thomson Learning.
Dantzer, R. (2001). Cytokine- induced sickness
behavior mechanism and implications.
New York Academic Science 933:222-
234.
Dodd, H.; & Wellman, N. (2000). Staff
development, anxiety and relaxation
techniques: a pilot study in an acute
psychiatric inpatient setting. Journal of
Psychiatric and Mental Health Nursing,
7,443-448.
Grotberg, E. H. (1999). Tapping your inner
strength: How to find the resilience to
deal with anything. Oakland: New
Harbinger.
Holmes, T.H.; & Rahe, R.H. (1967). The Social
Readjustment Rating Scale. Journal of
Psychosomatic Research.11(1): 213-
218.
Parkinson, B.; et.al. (1996). Changing Moods.
London : Totlenham Corert .
Seligman, M.E.P. (1990). Learning optimism.
New York : pocket Books.
Sheean, Vincent. (1982). Mahatma Gandhi : A
Great Life in Brief. New Delhi : Patiala
House.
Sullivan. H.S. (1953). The interpersonal theory of
psychiatry. New York: Norton.
Thompson, Rosemary A. (2003). Counselling
Techniques: Improving Relationships
with Others, Ourselve, Our Families and
Our Environment. 2nd ed. New York:
Brunner-Routledge.

Downloads

Published

2019-12-25