รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบการสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับบทเรียนอีเลิร์นนิง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดแก้ปัญหาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การเขียนโปรแกรมเพื่อแก้ปัญหา
Keywords:
inquiry, e-Learning, problem solving, programming, Computing ScienceAbstract
The objective of this research was to study on the inquiry instruction with e-Learning courseware to develop problem solving skill and learning achievement on programming. The samples of this research were grade 10 students who had studied Computing Science in semester 2/2561 at Bodindecha (Sing Singhaseni) school, Then, the samples had been selected by cluster random sampling method 2 classrooms of 76 students. The research instruments included the quality assessment of the learning management plans, the quality assessment of the e-Learning courseware, the problem solving skill test and the learning achievement test. The data were analyzed by using arithmetic mean, standard deviation, E1/E2 and one-way MANOVA test using Wilks’s Lambda. The results revealed thatthequality of learning management plans was very good ( = 4.73), the overall quality of e-Learning courseware was very good ( = 4.73), the efficiency of e-Learning courseware (E1/E2) is equal to 84.69/88.28 and the problem solving skill and learning achievement of students after learning with inquiry instruction with e-Learning courseware were significantly higher than before learning.
References
2.แกมกาญจน์ แสงหล่อ. (2560). การพัฒนาบทเรียนอีเลิร์นนิงวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ตามสภาพแวดล้อมการเรียนส่วนบุคคลบนอินเทอร์เน็ตผ่านทางเครือข่ายสังคม สำหรับนักศึกษาปริญญาตรี. วารสารวิจัยทางการศึกษา. 12(1), 286 – 299.
3.ฉัตรศิริ ปิยะพิมลสิทธิ์. (2548). การวิเคราะห์ความแปรปรวนหลายตัวแปรและการวิเคราะห์จำแนกประเภท. ค้นเมื่อ 20 มีนาคม 2560, สืบค้นจาก https://.watpon.com
4.ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2556). การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน. วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย. 5(1), 7-19.
5.ธนพงศ์ หมีทอง. (2558). การพัฒนาบทเรียนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตสำหรับการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะ เรื่อง ภาษาซีชาร์ปเบื้องต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเทพศิรินทร์. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. กรุงเทพฯ.
6.พัชฎา บุตรยะถาวร. (2558). ผลการสอนของวิธีการสอนแบบห้องเรียนกลับด้านด้วยการเรียนออนไลน์กับวิธีการสอนแบบสืบเสาะ เรื่อง ระบบไหลเวียนเลือด. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยาศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
7.พิมพลักษณ์ ว่องอภิวัฒน์กุล. (2554). การพัฒนาบทเรียนแบบสืบเสาะหาความรู้ สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย เพื่อพัฒนามโนทัศน์ เรื่อง โลกของเราและตรีโกณมิติ. วารสารวิจัยและพัฒนาหลักสูตร. 1(1), 39 – 54.
8.พรรณี ลีกิจวัฒนะ. (2558). วิธีการวิจัยทางการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพฯ: มีน เซอร์วิส ซัพพลาย.
9.รวีวัฒน์ สิริบาล. (2553). แนวทางการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ให้มีคุณภาพ. วารสารวิชาการกระทรวงศึกษาธิการ. 2(11), 19-23.
10.วรรณวิสา จันทร์สุนทราพร. (2557). การพัฒนากิจกรรมการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาและความสามารถในการเชื่อมโยงทาง คณิตศาสตร์ เรื่องความคล้าย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการมัธยมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. กรุงเทพฯ.
11.วรวิทย์ นิเทศศิลป์. (2551). สื่อและนวัตกรรมแห่งการเรียนรู้. กรุงเทพฯ : บริษัท สกายบุกส์ จำกัด.
12.สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ. (2561). ผลการสอบ O-NET. ค้นเมื่อ 31 มีนาคม 2562, สืบค้นจาก https://www.admissionpremium.com/content/3488
13.สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2546). การจัดสาระการเรียนรู้กลุ่มวิทยาศาสตร์หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ : สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
14.สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2561). รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี(วิทยาการคำนวณ). กรุงเทพฯ : ศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
15.สุธินันท์ บุญพัฒนาภรณ์. (2560). จากผลการประเมิน PISA สู่บทบาทผู้เกี่ยวข้องในการจัดการเรียนรู้. วารสารวิจัยและพัฒนาหลักสูตร. 7(1), 16-29.
16.Anderson, L. W., & Krathwohl, D. (2001). A Taxonomy for learning, Teaching, and Assessing: A Revision of Bloom’s Taxonomy of Education Objectives. New York : Longman.
17.Guilford, J.P. (1967). The Nature of Human Intelligence. New York : McGraw-Hill Book Company.
18.Seels, B., & Glasgow, Z. (1990). Exercises in instructional design. Columbus, OH: Merrill.