การศึกษาความพึงพอใจต่อหลักสูตรในด้านปัจจัยสนับสนุนและความสุข ด้านการเรียนการสอนของผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ประจำปีการศึกษา 2559 คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Keywords:
Student Satisfaction, Supporting Factors, Happiness of LearningAbstract
This article studies the level of satisfaction and comparative satisfaction in terms of supporting factors and happiness of learning of students completing a bachelor’s degree from the Faculty of Environment and Resource Studies at Mahidol University. The subjects of this research were 70 students who graduated from the department during the 2016 academic year. The research tool used for data collection was a questionnaire and the responses were statistically analyzed to determine percentage, mean, standard deviation, t-test and One-Way ANOVA values. The results show that the graduates were satisfied with the instruction and management overall with high scores for both issues. Comparison analysis performed among groups based on general information including gender, admission ranking, Secondary and High School ranking (Mathayom Suksa School) and overall college program GPA show that the graduates were satisfied with both supporting factors and happiness of learning with no significant difference.
References
ศึกษาธิการ. ร่างกรอบทิศทางแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2574, พ.ศ.2560.
2. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2552, 2552.
3. สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2541. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ; 2541.
4. พระไพศาล วิสาโล. ความสุขของนักศึกษาเพื่อปัญญาของแผ่นดิน. พิมพ์ครั้งที่ 1. กองกิจการนักศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล; 2554.
5. สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดตรัง มหาวิทยาลัยรามคำแหง. ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการให้บริการด้านการจัดการ
ศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง สาขาวิทยบริการ
เฉลิมพระเกียรติ จังหวัดตรัง. รายงานการวิจัย มหาวิทยาลัยรามคำแหง; 2555.
6. บุญชม ศรีสะอาด. การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์สุวีริยาสาส์น; 2545.
7. ภาศิริ เขตปิยรัตน์และสินีนาถ วิกรมประสิทธิ. ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อหลักสูตรบริหารธุรกิจ (4ปี) คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2553. รายงานการวิจัย คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์; 2554.
8. รัตนา พรมภาพ. ความพึงพอใจของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรของภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีการศึกษา 2550. รายงานการวิจัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร; 2551.
9. กองแผนงาน สํานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ศึกษาความพึงพอใจของนิสิตที่มีต่อมหาวิทยาลัยสารคาม ปีการศึกษา 2558.รายงานการวิจัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม; 2558.
10. ภาณุวัฒน์ สว่างแสง และนุชวนา เหลืองอังกูร. แรงจูงใจในการตัดสินใจเข้าศึกษาในระดับปริญญาตรีระบบรับตรงมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปีการศึกษา2554.วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ราชภัฏมหาสารคาม 2555;1:172–178.
11. อุทุมพร ไวฉลาด และ จงดี โตอิ้ม. ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจศึกษาต่อระดับบัณฑิตศึกษาของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. วารสารบัณฑิตศึกษา 2559;2:165-177.
12. สมชาย บุญสุ่น. ความพึงพอใจของนิสิตที่มีต่อการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา[วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย; 2554.
13. อุทุมพร ไวฉลาด และวันทนีย์ โพธิ์กลาง. ศึกษาความพึงพอใจของบัณฑิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตคณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัย
มหิดล. Mahidol R2R e-Journal 2557;2:55-75.
14. อาจารีย์ ประจวบเหมาะ ศรินทร์ ขันติวัฒนะกุล นภัสสร ตื่มสูงเนิน และฉัตรมงคล จันทราทิพย์. การศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการจัดระบบการเรียนการสอนหลักสูตร สาขาวิชาการจัดการทั่วไป คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม. วารสารจันทรเกษมสาร2554;33:77-86.
15. ปัทมา ทองสม. การพัฒนาดัชนีชี้วัดความสุขในการเรียนของนักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิตสังกัดกระทรวงสาธารณสุข. วารสารการพยาบาลและการศึกษา 2554;1:88-111.
16. จิราภรณ์ สรรพวีรวงศ์ ภัทรกันย์ ติเอียดย่อ จันทนี ปลูกไม้ดี ศรัญญา ทิ้งสุข สุพรรษา สุดสวาท และกนกพร สงปราบ. ความสุขของนักศึกษามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์. สงขลานครินทร์เวชสาร 2559;5:269 – 279.
17. ยุคลธร แจ่มฤทธิ์. ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ทัศนคติต่อวิชาชีพ รูปแบบการใช้ชีวิตของนักศึกษาการดูแลนักศึกษาของอาจารย์และบรรยากาศการเรียนรู้กับการใฝ่รู้ของนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข[วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตร มหาบัณฑิต] กรุงเทพ:จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2544.
18. ธนพล บรรดาศักดิ์ กนกอร ชาวเวียง และนฤมล จันทรเกษม. ความสุขในการเรียนรู้ของนักศึกษาพยาบาล. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร 2560;1:357-36.
Downloads
Published
Issue
Section
License
บทความทุกบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย (JPR2R) ถือว่าเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล