ปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลถึงการเตรียมความพร้อม สำหรับการรองรับการกระจายอำนาจในการจัดการศึกษา

Main Article Content

สมบูรณ์ ศิริสรรหิรัญ
สุวิดา นวมเจริญ

บทคัดย่อ

ผลการวิจัยปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลถึงการเตรียมความพร้อมสำหรับการรองรับการกระจายอำนาจในการจัดการศึกษา โดยประยุกต์ตัวแบบการนำนโยบายไปปฏิบัติของ G. Shabbir Cheema และ Dennis A. Rondinelli นำมาวิเคราะห์ด้วยการใช้ตัวแบบสมการเชิงโครงสร้าง พบว่าเงื่อนไขทางสภาวะแวดล้อมส่งผลเชิงบวกต่อความสัมพันธ์ระหว่างองค์การและทรัพยากรองค์การในระดับมาก แต่ไม่มีผลต่อคุณลักษณะและสมรรถนะของโรงเรียน ส่วนความสัมพันธ์ระหว่างองค์การและทรัพยากรองค์การส่งผลเชิงบวกต่อคุณลักษณะและสมรรถนะโรงเรียนในระดับปานกลาง สุดท้ายคุณลักษณะและสมรรถนะโรงเรียนส่งผลเชิงบวกต่อความพร้อมในการรองรับการกระจายอำนาจในระดับสูง ส่วนเงื่อนไขทางสภาพแวดล้อมส่งผลเชิงบวกต่อความพร้อมในการรองรับการกระจายอำนาจในระดับปานกลาง

Article Details

How to Cite
ศิริสรรหิรัญ ส., & นวมเจริญ ส. . (2016). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลถึงการเตรียมความพร้อม สำหรับการรองรับการกระจายอำนาจในการจัดการศึกษา. Journal of Politics and Governance, 6(2), 413–428. สืบค้น จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jopag/article/view/272945
บท
บทความวิจัย

References

กมล สุดประเสริฐ. (2544). รายงานผลการวิจัยรูปแบบการบริหารและการจัดการศึกษาแบบกระจายอำนาจ. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.

กล้า ทองขาว. (ม.ป.ป.). ระบบงานแผนเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: สำ นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

สมบัติ ธำรงธัญวงศ์. (2553). นโยบายสาธารณะ: แนวความคิด การวิเคราะห์ และกระบวนการ (21 ed.). กรุงเทพฯ: เสมาธรรม.

สมบูรณ์ ศิริสรรหิรัญ. (2544, 15 มิถุนายน 2544). บทบาทใหม่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับการจัดการศึกษา : พัฒนาหรือบั่นทอน. Paper presented at the รายงานการสัมมนาทางวิชาการเรื่อง การกระจายอำนาจเพื่อการพัฒนาภาครัฐและประชาชน, ห้องกรุงธนบอลรูม โรงแรมรอยัลริเวอร์ เขตบางพลัด กรุงเทพ.

สมบูรณ์ ศิริสรรหิรัญ. (2545). การศึกษาเปรียบเทียบแนวทางการบริหารและการจัดการศึกษาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. วารสารสหศาสตร์, 2(2).

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2549). การกระจายอำนาจทางการศึกษาใน 8 ประเทศ. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2549). รายงานการวิจัยเรื่องการกระจายอำนาจทางการศึกษาของประเทศนิวซีแลนด์. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2549). รายงานการวิจัยเรื่องการกระจายอำนาจทางการศึกษาของประเทศฝรั่งเศส. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2549). รายงานการวิจัยเรื่องการกระจายอำนาจทางการศึกษาของประเทศมาเลเซีย. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2549). รายงานการวิจัยเรื่องการกระจายอำนาจทางการศึกษาของประเทศสาธารณรัฐเกาหลี. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2549). รายงานการวิจัยเรื่องการกระจายอำนาจทางการศึกษาของประเทศออสเตรเลีย. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2549). รายงานการวิจัยเรื่องการกระจายอำนาจทางการศึกษาของประเทศอังกฤษ. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2549). รายงานการวิจัยประเมินผลการกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษาให้เขตพื้นที่การศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักงานเขาธิการสภาการศึกษา.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2550). รายงานการวิจัยเรื่องการกระจายอำนาจทางการศึกษาของประเทศญี่ปุ่น. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2550). รายงานการวิจัยเรื่องการกระจายอำนาจทางการศึกษาของประเทศสหรัฐอเมริกา. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2550). รายงานการวิจัยการบริหารการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2553). รายงานการติดตามการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปี 2551. กรุงเทพฯ: เพลิน สตูดิโอ.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2554). การวิจัยและพัฒนารูปแบบกลไกการส่งเสริมการกระจายอำนาจการบริหารจัดการศึกษาสู่เขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2555). รายงานการวิจัยการประเมินศักยภาพและความพร้อมของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อรองรับการกระจายอำนาจการจัดการศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

สำนักงานคณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองท้องถิ่น, และ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (ม.ป.ป.). รายงานผลการตรวจติดตามสถานศึกษาที่ถ่ายโอนให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

สำนักงานคณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. (2556). รอบรู้เรื่องแผนการกระจายอำนาจ. จดหมายข่าว : การกระจายอำนาจ, 11.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2545). การบริหารแบบกระจายอำนาจ : โรงเรียนพร้อมหรือยัง. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.

A.Marcoulides, G., & E.Schumacker, R. (2009). NEW DEVELOPMENTS AND TECHNIQUES IN STRUCTURAL EQUATION MODELING London: Lawrence Erlbaum Associates.

Byrne, B. M. (2010). Structural Equation Modeling with AMOS: Basic Concepts, Applications, and Programming (2 ed.). New York: Taylor & Francis Group.

Hood, C., & Peters, G. (2004). The Middle Aging of New Public Management: Into the Age of Paradox?. Journal of Public Administration Research and Theory, 14(3), 267–282.

Kline, R. B. (2011). Principles and Practice of Structural Equation Modeling (3 ed.). New York: The Guilford.

Papadimitriou, D. (1998). The impact of institutionalized resources, rulesand practices on the performance of non-profit sport organizations. Managing Leisure, 3, 169-180.

Rondinelli, D. A. (1983). Implementing decentralization programmes in Asia: a comparative analysis. Public Administration and Development, 3, 181-207.

Rondinelli, D. A., Nellis, J. R., & Cheema, G. S. (1983). Decentralization in Developing Countries a Review of Recent Experience. Washington: The World Bank.

Schumacker, R. E., & Lomax, R. G. (2010). A Beginner’s Guide to Structural Equation Modeling (3 ed.). New York: Taylor & Francis Group.