นักการเมืองอีสานปัจจุบัน: บทสำรวจสถานภาพความรู้
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้เป็นการสำรวจสถานภาพความรู้ของงานวิชาการเกี่ยวกับนักการเมืองอีสาน ในปัจจุบัน โดยมุ่งเน้นไปที่นักการเมืองระดับชาติที่มาจากการเลือกตั้งโดยประชาชนซึ่งในบริบทปัจจุบัน คือ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ดังนั้นองค์ความรู้เกี่ยวกับนักการเมืองอีสานจึงปรากฏในงานวิจัยเกี่ยวกับการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรปี 2562 ที่มีการเผยแพร่ในปี 2563 ส่วนแรก ของบทความเป็นข้อค้นพบจากการสำรวจองค์ความรู้เกี่ยวกับนักการเมืองอีสานในสามหัวข้อคือ 1) นักการเมืองอีสานกับพรรคการเมืองในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เป็นการทั่วไป 2562 2) นักการเมืองอีสานกับเงิน 3) นักการเมืองอีสานกับเครือข่ายในท้องถิ่น และในส่วนท้ายของบทความเป็นการเสนอประเด็นเพื่อนำไปสู่การค้นคว้าวิจัยต่อไปในอนาคต
Article Details
References
กตัญญู แก้วหานาม, และพิมพ์ลิขิต แก้วหานาม. (2563ก). การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 จังหวัดกาฬสินธุ์. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.
______. (2563ข). ความเคลื่อนไหวและพฤติกรรมทางการเมืองของผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในจังหวัดกาฬสินธุ์. วารสารการเมืองการปกครอง. 10(3), 190 – 205.
คะนอง พิลุน. (2561). นักการเมืองถิ่นจังหวัดอุดรธานี. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.
คายส์, ชาร์ลส์ เอฟ. (2556). อีสานนิยม: ท้องถิ่นนิยมในสยามประเทศไทย. [Isan: Regionalism in Northeastern Thailand] (พิมพ์ครั้งที่ 2). (รัตนา โตสกุล, ผู้แปล). กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.
ฉลาด จันทรสมบัติ. (2557). นักการเมืองถิ่นจังหวัดมหาสารคาม. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.
เฉลิมเกียรติ ภาระเวช. (2542). บทบาททางการเมืองของผู้นำท้องถิ่นอีสาน พ.ศ. 2481 - 2495. (วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครอง ไม่ได้ตีพิมพ์). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร.
ชัยพงษ์ สำเนียง. (2561). พัฒนาการกลุ่มทุนการเมืองในภาคเหนือของประเทศไทย : การเปลี่ยนทุนเศรษฐกิจและวัฒนธรรมให้เป็นทุนการเมือง. วารสารพัฒนศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 1(1), 1-53.
________. (2562). พลวัตกลุ่มทุนการเมืองในภาคเหนือของประเทศไทย: การเปลี่ยนทุนเศรษฐกิจและวัฒนธรรมให้เป็นทุนการเมือง (พ.ศ. 2475-2560). เชียงใหม่: สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ชาญชัย บุญเสนอ. (2536). การรวมกลุ่มของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. (วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครอง ไม่ได้ตีพิมพ์). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร.
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ, และธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์, (บ.ก.). (2544). ปรีดี พนมยงค์และ 4 รัฐมนตรีอีสาน + 1. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.
ไชยวุฒิ มนตรีรักษ์. (2549). นักการเมืองถิ่นจังหวัดเลย. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า.
ฐากูร ข่าขันมะลี. (2559). การสร้างความหมายของเมืองบุรีรัมย์ในฐานะ“มหานครแห่งกีฬา”. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ไม่ได้ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.
ณัชชาภัทร อมรกุล, และปุรวิชญ์ วัฒนสุข, (บ.ก.) (2563). ฉากใหม่การเลือกตั้งไทย: การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 ใน 7 จังหวัด. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.
ดารารัตน์ เมตตาริกานนท์. (2543). การรวมกลุ่มทางการเมืองของ “ส.ส.อีสาน” พ.ศ. 2476-2494. (ปริญญาอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ ไม่ได้ตีพิมพ์). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร.
ดารารัตน์ เมตตาริกานนท์. (2546). การเมืองสองฝั่งโขง: การรวมกลุ่มทางการเมืองของ ส.ส.อีสาน พ.ศ. 2476 – 2494. กรุงเทพฯ: มติชน
เทอดศักดิ์ ไป่จันทึก, ศิวัช ศรีโภคางกุล, อรรถพล เมืองมิ่ง, ถนอมวงศ์ สูรยสิมาพงษ์, และฌาน เรืองธรรมสิงห์. (2563). การแข่งขันและปัจจัยที่มีผลต่อชัยชนะการเลือกตั้งทั่วไป พ.ศ. 2562 ของผู้สมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเลย. วารสารสถาบันพระปกเกล้า, 18(3), 58-78.
ธีรวัชร ประนัดสุดจ่า. (2542). แนวความคิดและบทบาททางการเมืองของนายจำลอง ดาวเรือง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดมหาสารคาม ในช่วงปีพ.ศ.2480-2492. (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ ไม่ได้ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาสารคาม.
นิพนธ์ โซะเฮง. (2560). นักการเมืองถิ่นจังหวัดขอนแก่น. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.
นิรันดร์ กุลฑานันท์. (2549). นักการเมืองถิ่นจังหวัดบุรีรัมย์. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า.
นุกูล กันทรดุษฎี. (2546). แนวคิดและบทบาททางการเมืองของนายแคล้ว นรปติ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดขอนแก่น พ.ศ. 2495-2529. (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต (ประวัติศาสตร์) ไม่ได้ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาสารคาม.
ประจักษ์ ก้องกีรติ. (2551). นิทานสอนใจว่าด้วยความโง่ จน เจ็บของผู้เลือกตั้งชนบท: มายาคติและอคติของนักรัฐศาสตร์ไทย. ฟ้าเดียวกัน. 6(4), 140 -155.
ประเทือง ม่วงอ่อน. (2563). การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 จังหวัดอุบลราชธานี. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.
ประเทือง ม่วงอ่อน. (2556). นักการเมืองถิ่นจังหวัดศรีสะเกษ. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.
ประสพ วงศ์หนองหว้า. (2537). บทบาทของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดร้อยเอ็ด กับการพัฒนาสู่ตระกูลการเมือง พ.ศ. 2480-2529. (ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต วิชาเอกประวัติศาสตร์ ไม่ได้ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม, มหาสารคาม.
พรรณิกา ฉายากุล. (2547). ส.ส. อีสานกลุ่มแนวคิดสังคมนิยม พ.ศ. 2490-2506. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ไม่ได้ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยศิลปากร, นครปฐม.
________. (2558). บทสำรวจองค์ความรู้จากงานเขียนที่เกี่ยวกับ “ส.ส.อีสาน” ระหว่างปี พ.ศ. 2480-2558. วารสารมนุษย์กับสังคม. 1(1). 1-14.
พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล. (2560, 6 พฤศจิกายน). “สมชัย ภัทรธนานันท์: อ่านการเมืองอีสาน ยุคก่อนทักษิณ ถึงหลัง คสช.” 101. สืบค้นจาก https://www.the101.world/somchai-interview/
พิชญ์ สมพอง. (2551). นักการเมืองถิ่นจังหวัดยโสธร. นนทบุรี: สถาบันพระปกเกล้า.
พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์. (2563). การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 กรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.
พิสมัย ศรีเนตร, และจันทรา ธนะวัฒนาวงศ์. (2563). การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 จังหวัดสุรินทร์. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.
พีรยา คูวัฒนศิริ. (2533). แนวคิดและบทบาททางการเมืองของทองอินทร์ ภูริพัฒน์. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาประวัติศาสตร์ ไม่ได้ตีพิมพ์). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร.
ไพฑูรย์ มีกุศล. (2552). นักการเมืองถิ่นจังหวัดสุรินทร์. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.
มาโนช สุวรรณสาร, กาญ ดำริสุ และมุทุดา แก่นสุวรรณ. (2558). นักการเมืองถิ่นจังหวัดนครพนม. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.
วัลลภ รัฐฉัตรานนท์, และนพพล อัคฮาด. (2559). นักการเมืองถิ่นจังหวัดหนองบัวลำภู. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.
เวียงรัฐ เนติโพธิ์. (2558). หีบบัตรกับบุญคุณ: การเมืองการเลือกตั้งและการเปลี่ยนแปลงเครือข่ายอุปถัมภ์. เชียงใหม่: ศูนย์อาเซียนศึกษา
ศรุดา สมพอง. (2559). นักการเมืองถิ่นจังหวัดกาฬสินธุ์. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.
ศิริพร ศรีพนมเขต. (2544). การรวมกลุ่มทางการเมืองของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดอุบลราชธานี ระหว่างปี พ.ศ. 2500 - 2538. (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ ไม่ได้ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาสารคาม.
ศิวัช ศรีโภคางกุล. (2563). การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 จังหวัดขอนแก่น. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.
ศิวัช ศรีโภคางกุล, อรรถพล เมืองมิ่ง, ถนอมวงศ์ สูรยสิมาพงษ์, ฌาน เรืองธรรมสิงห์, และเทอดศักดิ์ ไป่จันทึก. (2563). การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 จังหวัดเลย. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.
ศุทธิกานต์ มีจั่น. (2563). การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 จังหวัดร้อยเอ็ด. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.
เศรษฐวัฒน์ โชควรกุล. (2560). นักการเมืองถิ่นจังหวัดนครราชสีมา. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.
สติธร ธนานิธิโชติ. (2556). ตระกูลการเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทย. วารสารสถาบันพระปกเกล้า. 10(2), 5-23.
สติธร ธนานิธิโชติ. (2557). คุณลักษณะของนักการเมืองไทยที่มีสายสัมพันธ์แบบตระกูลการเมือง. วารสาร การเมือง การบริหาร และกฎหมาย. 6(3), 101-129.
สติธร ธนานิธิโชติ. (2558). ความได้เปรียบในสนามเลือกตั้งของทายาทตระกูลนักการเมือง. วารสารสังคมศาสตร์. 45(2), 49-74.
สติธร ธนานิธิโชติ. (2562). ตระกูลการเมืองกับการเลือกตั้ง : “มนต์ขลัง” หรือ (แค่) พลังที่ “ถดถอย”. กรุงเทพฯ: สำนักวิจัยและพัฒนา สถาบันพระปกเกล้า.
สมชัย ภัทรธนานันท์. (2548). “อีสานกับรัฐไทย: การครอบงํา ความขัดแย้ง และการต่อต้าน”. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 24(2), 99-120.
สหชาติ ทันที. (2550). ความคิดทางการเมืองของนายไขแสง สุกใส. (วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการเมืองการปกครอง ไม่ได้ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาสารคาม.
สำรวน ศิริบุรี. (2537). แนวคิดทางการเมืองและบทบาทของนายแคล้ว นรปติ ในฐานะสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร. (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ ไม่ได้ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, กรุงเทพมหานคร.
สิริกร กำพลังฤทธิ์. (2555). นักการเมืองถิ่นจังหวัดชัยภูมิ. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.
สุเชาวน์ มีหนองหว้า, และกิติรัตน์ สีหบัณฑ์. (2549). นักการเมืองถิ่นจังหวัดอุบลราชธานี. นนทบุรี : สถาบันพระปกเกล้า.
สุวัฒน์ชัย แสนราช. (2541). แนวความคิดและบทบาททางการเมืองของนายถวิล อุดลสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดร้อยเอ็ด พ.ศ. 2480-2492. (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ ไม่ได้ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาสารคาม.
อดิเรก บุญคง. (2536). บทบาทของขบวนการเสรีไทยสายอีสานและบทบาททางการเมืองของสมาชิก หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 พ.ศ. 2484-2495. (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ ไม่ได้ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาสารคาม.
อภิสิทธิ์ กิจเจริญสิน. (2542). แนวความคิดและบทบาททางการเมืองของนายเตียง ศิริขันธ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสกลนครในช่วงปี พ.ศ. 2480-2495. (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ ไม่ได้ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาสารคาม.
อรอนงค์ ซ้ายโพธิ์กลาง, และศรัณย์ จิระพงษ์สุวรรณ. (2558). นักการเมืองถิ่นจังหวัดร้อยเอ็ด. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.
อลงกรณ์ ศิลปดอนบม และศิวัช ศรีโภคางกุล. (2563). การกำเนิดของพรรคอนาคตใหม่ที่มีผลกระทบต่อพรรคเพื่อไทย ในการเลือกตั้งปีพุทธศักราช 2562: กรณีศึกษาจังหวัดขอนแก่น. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร., 8(1), 320-335.
อิทธิพล โคตะมี. (2560, 3 ตุลาคม). “สมชัย ภัทรธนานันท์: การเมืองอีสานไม่ใช่เรื่องภูมิภาคนิยม (1)”. เดอะ อีสานเรคคอร์ด. สืบค้นจาก https://theisaanrecord.co/2017/10/03/msu-somchai/
Keyes, Charles F. (1967). Isan: Regionalism in Northeastern Thailand. Itaca: Southeast Asia Program, Department of Far Eastern Studies, Cornell University.
McCargo, Duncan & Anyarat Chattharakul. (2020). Future Forward: The Rise and Fall of a Thai Political Party. Copenhagen: NIAS Press.
Nishizaki, Yoshinori. (2004). The Weapon of the Strong: Identity, Community, and Domination in Provincial Thailand. (Ph.D. Thesis) University of Washington, Washington.
Nishizaki, Yoshinori. (2011). Political Authority and Provincial Identity in Thailand: The Making of Banharn-buri. Ithaca, N.Y.: Southeast Asia Program Publications, Southeast Asia Program, Cornell University.
Somchai Phatharathananunth. (2008). The Thai Rak Thai party and elections in North-eastern Thailand. Journal of Contemporary Asia. 38(1), 106–12.
Suthikarn Meechan. Clientelistic Networks in the 2019 Thai General Election: Evidence from Roi-Et Province. Social Science Asia, 6(4), 1 -20.
workpointTODAY. (2562, 31 พฤษภาคม). เทียบผลเลือกตั้ง 54-62 แต่ละภาคคะแนนโหวตเปลี่ยนแปลงอย่างไร. สืบค้นจาก https://workpointtoday.com/news190531/