Conflict Management: Basic Understanding & Case Studies

Main Article Content

Sida Sonsri

Abstract

ความขัดแย้ง (conflict) เป็นสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นๆได้ทุกระดับ นับตั้งแต่ระดับปัจเจก องค์กร สังคม ประเทศ และระหว่างประเทศ ในการศึกษาความขัดแย้ง นอกเหนือจากการศึกษาความเป็นมา ความหมายของความขัดแย้ง ระดับของความขัดแย้งแล้ว ยังต้องทำความเข้าใจเกี่ยวกับองค์ประกอบอื่นๆ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องความรุนแรง (violence) การจัดการความขัดแย้ง (conflict management) สันติวิธี (non- violence) และสันติภาพ (peace) เนื่องจากความขัดแย้งยังไม่ได้ดำรงอยู่เฉพาะตัว เมื่อใดก็ตามที่เกิดความขัดแย้งขึ้น โอกาสที่จะพัฒนาไปสู่ความรุนแรงย่อมเกิดขึ้นได้เสมอ ดังนั้น การแปรเปลี่ยนความขัดแย้งในเชิงบวกจำเป็นต้องเลือกใช้วิธีการที่ปราศจากความรุนแรง หรือแนวทางสันติวิธี ถึงที่สุดแล้วสันติวิธีจะช่วยหนุนเสริมต่อการสร้างสันติภาพที่ปราศจากความสูญเสียและยั่งยืนมากขึ้น ทั้งนี้จึงเห็นได้ว่าความขัดแย้งเป็นเรื่องที่มีความเกี่ยวพันกับชุดความรู้มิติอื่นๆ ที่ต้องอาศัยการทำความเข้าใจไปพร้อมๆกัน

Article Details

How to Cite
Sonsri, S. . (2021). Conflict Management: Basic Understanding & Case Studies. Journal of Politics and Governance, 11(2), 245–246. Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jopag/article/view/254565
Section
Book Review

References

บุษบง ชัยเจริญวัฒนะ. (2563). การจัดการความขัดแย้ง: ความรู้เบื้องต้นและกรณีศึกษา (Conflict Management: Basic Understanding & Case Studies) (พิมพ์ครั้งที่ 2). สถาบันสันติศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.