ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ของบุคลากรสายสนับสนุน มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในยุคภาวะพลิก
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรสายสนับสนุน มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในยุคภาวะพลิกผัน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 383 คน เป็นบุคลากรสายสนับสนุน มหาวิทยาลัยขอนแก่น และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติเชิงพรรณนา สถิติเชิงอนุมานโดยหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (Enter Multiple Regression Analysis) ผลการวิจัยพบว่า ระดับการปฏิบัติงานของบุคลากรสายสนับสนุน ภาพรวมอยู่ในระดับมาก (xˉ = 3.67, S.D. = 0.87) และประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากร ภาพรวมอยู่ในระดับมาก (xˉ = 4.08, S.D. = 0.68) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรมหาวิทยาลัยขอนแก่น ในยุคภาวะพลิกผัน โดยภาพรวมมีความสัมพันธ์กันทางบวกหรือมีลักษณะคล้อยตามกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.01 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์พหุคูณ (r= 0.408, p-value<0.001) สามารถพยากรณ์ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรสายสนับสนุน มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในยุคภาวะพลิกผัน ได้ร้อยละ 28.70
(R2 = .287, p-value<0.001)
Article Details
References
คนางค์ ภูถมดี. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ความภัคดีต่อองค์กร กับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานองค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดมหาสารคาม. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, มหาสารคาม.
จักรกฤษณ์ โปณะทอง. (2560). ปัจจัยความเสี่ยงบนความท้าทายของการบริหารจัดการสถาบันอุดมศึกษาในศตวรรษที่ 21. วารสารสุทธิปริทัศน์, 31(99), 2560-2573.
จักรวาล สุขไมตรี. (2561). เทคนิคการประสานงานในองค์การ. วารสารวิชาการแพรวากาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์, 5(2), 263-276.
จารุเนตร เกื้อภักดิ์. (2559). แนวทางพัฒนาศักยภาพบุคลากรสายสนับสนุนของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศิลปากร, กรุงเทพมหานคร.
ชนิศา หาญสมบุญ. (2563). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการท างานของบุคลากร การทางพิเศษแห่งประเทศไทย. วารสารศิลปะการจัดการ, 4(1), 46-58.
ชินวัตร เชื้อสระคู. (2562). การบริหารเชิงกลยุทธ์ : ความท้าทายและข้อเสนอแนะในการจัดการทรัพยากรมนุษย์องค์กรภาครัฐ. วารสารการเมืองการปกครอง, 9(2), 200-215.
ชุติภาส ชนะจิตต์. (2552). ความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการทรัพยากรมนุษย์กับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัทในนิคมอุตสาหกรรมบางชัน. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธนบุรี, กรุงเทพมหานคร.
ณิชานันท์ เพ็ญศร. (2554). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของ บุคลากรสายสนับสนุน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. (การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน, ขอนแก่น.
นลพรรณ บุญฤทธิ์. (2558). ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี. (งานนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยบูรพา, ชลบุรี.
ประพันธ์ คชแก้ว. (2562). นวัตกรรมการบริหารงานในยุคดิจิทัล. วารสาร มจร. มนุษยศาสตร์ปริทัศน์, 5(1), 131-142.
ปริศนา พิมพา. (2558). ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม. การประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ “สร้างสรรค์และพัฒนา เพื่อก้าวหน้าสู่ประชาคมอาเซียน” ครั้งที่ 2. ณ วิทยาลัยนครราชสีมา อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา.
พรรณิดา คำนา. (2562). ปัจจัยเอื้อต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงานสายสนับสนุนมหาวิทยาลัยศิลปากร. (ดุษฎีนิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศิลปากร, กรุงเทพมหานคร.
พัชราภรณ์ ดวงชื่น. (2560). เปลี่ยนมุมมองการบริหารองค์กรการศึกษาในโลก Disruptive. วารสารบริหารการศึกษามหาวิทยาลัยศิลปากร, 8(2), 248-256.
พิชญ์สินี มะโน. (2562). ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงในยุค DIGITAL DISRUPTION ต่อการศึกษา. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม, 18(1), 1-6.
มาลินี นกศิริ. (2559). ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัท ธรรมรักษ์ ออโตพาร์ท จำกัด. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์, ฉะเชิงเทรา.
วิจารณ์ พานิช. (2551). กลไกกำกับดูแลสถาบันอุดมศึกษา. กรุงเทพฯ : สถาบันคลังสมองของชาติ (มูลนิธิส่งเสริมทบวงมหาวิทยาลัย).
วิมลพรรณ อาภาเวท. (2560). การบริหารมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครเพื่อมุ่งสู่การเป็นมหาวิทยาลัยดิจิทัล. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร.
วิลาวรรณ รพีพิศาล. (2554). ความรู้พื้นฐานในการบริหารทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ: วิจิตรหัตถกร.
สาธิมา ชลศิริ. (2558). การพัฒนาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อนำ ไปสู่ความสำเร็จในการปฏิบัติงาน ของบุคลากรที่ปฏิบัติงานด้านการคลังและพัสดุในสำนักงานอธิการบดีมหาวิทยาลัย/สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า. วารสารวิชาการศิลปะศาสตร์ประยุกต์, 8(1), 145-153.
สุรัตน์ ไชยชมภู. (2556). การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาองค์การ. วารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา,7(1), 1-14.
อภิสิทธิ์ คุณวรปัญญา. (2561). การจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติงานตำแหน่งประเภทสนับสนุน มหาวิทยาลัยมหิดล. วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ, 5(2), 273-306.
อัครเดช ไม้จันทร์, และนุจรีย์ แซ่จิว. (2561). ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงาน กลุ่มอุตสาหกรรมติดตั้งเครื่องจักรสายการผลิตในจังหวัดสงขลา. วารสารราชภัฏ
สุราษฎร์ธานี, 5(1), 95-121.
เอกสิทธิ์ สนามทอง. (2562). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ : แนวทางพัฒนาสู่ความสำเร็จขององค์การ. วารสารเกษมบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, 20(1), 64-77.
Yamane, T. (1973). Statistics: an introductory analysis. New York: Harper & Row.
Karimi, J., & Walter, Z. (2015). The Role of Dynamic Capabilities in Responding to Digital Disruption: A Factor-Based Study of the Newspaper Industry. Journal of Management Information Systems, 32(1):39-81.
Ulrich, D., Younger, J., Brockbank, W., &Ulrich, M. (2013). The state of the HR profession. Human Resource Management, 52(3), 457-471.
Pace, R. W., Smith, P. C., &. Mills G E. (1991). Human Resource Development -The Field- USA. New Jersey: Prentice Hall.
Peterson, E. & Plowman, G. E. (1953). Business Organization and Management. (3rd ed.). Ill: Irwin.
Ryan, T.A., & Smith, P.C. (1954). Principle of Industrial Psychology. New York : The Mcnanla Press Company.
Woodruff, C.K. (1990). Managing for results: An examination of professional. New Jersey: Prentice Hall.